วันพฤหัสบดี, กันยายน 01, 2554

การแก้ปัญหาเงินเฟ้อ-เงินฝืด (ม.5)

การแก้ปัญหาเงินเฟ้อและเงินฝืด
นโยบายการเงิน
การควบคุมเครื่องมือทางการเงินของธนาคารกลาง

นโยบาย
เงินเฟ้อ
เงินฝืด
เปิดตลาดซื้อขายพันบัตร
(open market operation)
ประกาศขายพันธบัตร
ลดปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ
ประกาศซื้อพันธบัตร
เพิ่มปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ
เปลี่ยนแปลงอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย
(change in legal reserve ration)
เพิ่ม
เพื่อลดปริมาณเงินที่จะไหลเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ
ลด
เพื่อเพิ่มปริมาณเงินที่จะไหลเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงอัตรารับช่วงซื้อลดหรืออัตราธนาคาร
(change in rediscount rate or bank rate )
เพิ่ม
ชะลอการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์
ลด
ส่งเสริมการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์
การร้องขอไปยังธนาคารพาณิชย์
(moral suasion)
เข้มงวด
ชะลอการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์
ผ่อนปรน
ส่งเสริมการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์
เปลี่ยนแปลงอัตรากู้ยืมหรือสินเชื่อเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์
(change in margin requirement)
เพิ่ม
ชะลอการปล่อยสินเชื่อในการซื้อขายหลักทรัพย์
ลด
เร่งการปล่อยสินเชื่อในการซื้อขายหลักทรัพย์
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
(change in deposit rate)
พิ่ม
เพิ่มการออม
ลดการใช้จ่าย
ลด
ลดการออม
เพิ่มการใช้จ่าย


นโยบายการคลัง
การควบคุมรายรับ-รายจ่ายของรัฐบาล


นโยบาย
เงินเฟ้อ
เงินฝืด
การเปลี่ยนแปลงรายจ่ายของรัฐบาล
(change in government expenditue)
ลดการใช้จ่ายของรัฐบาล
ลดอุปสงค์มวลรวม
ปรับปรุงหนี้สาธารณะ
ลดปริมาณเงินลง
เพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาล
เพิ่มอุปสงค์มวลรวม
มาตรการด้านภาษี
เข้มงวด

เพิ่มภาษีสินค้าฟุ่มเฟือย
กำหนดอัตราภาษีแบบก้าวหน้า
เข้มงวด

ลดภาษีเงินได้
ลดภาษีสินค้าส่งออก
เพิ่มภาษีสินค้านำเข้าฟุ่มเฟือย


2 ความคิดเห็น:

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

งงมากค่ะเเต่ก็ok

wiwerz กล่าวว่า...

ขอบคุณค่ะ

แสดงความคิดเห็น

ตัวอย่างปลายภาค รอบสุดท้าย

  1. ความหมายโดยทั่วไปของกฎหมายคืออะไร 1. ข้อบังคับของรัฐ 2. บรรทัดฐานในสังคม 3. จารีตประเพณี 4. บรรทัดฐานที่ศาลใช้ในการตัดสินคด...