วันอังคาร, มิถุนายน 26, 2555

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ (ม.1)

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
นักวิชาการส่วนใหญ่แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ออกเป็นสองยุคคือ
            1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สังคมนั้นยังไม่มีตัวอักษรและตัวหนังสือเพื่อบอกเรื่องราว
            2. สมัยประวัติศาสตร์ สังคมนั้นมีการใช้ตัวอักษรและตัวหนังสือเพื่อบอกเรื่องราว
สมัยกึ่งก่อนประวัติศาสตร์
องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ<UNESCO> กำหนดให้มีสมัยกึ่งก่อนประวัติศาสตร์ หมายถึงช่วงเวลาที่สังคมนั้นยังไม่รู้จักตัวอักษร แต่สามารถศึกษาเรื่องราวได้จากหลักฐานลายลักษณ์อักษรที่คนต่างถิ่นบันทึกไว้
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
แบ่งตามพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมมนุษย์

สังคมล่าสัตว์
สังคมเกษตรกรรม
สังคมเมือง
500,000-6,000ปี
6,000-2,500ปี
2,500ปี
ล่าสัตว์ ประมง
หาของป่า
เริ่มการเกษตรกรรม
และกสิกรรม
มีการติดต่อค้าขายกันระหว่างเมือง
เร่ร่อน อยู่กันเป็นครอบครัว
ชุมชนที่มีผู้นำ
แบ่งงานกันทำ
หลายๆชุมชน
รวมตัวกันเป็นเมือง


แบ่งตามเทคโนโลยีเครื่องมือเครื่องใช้
1. ยุคหิน

ยุคหินเก่า
ยุคหินกลาง
ยุคหินใหม่
500,000-10,000ปี
10,000-6,000ปี
6,000-4,000ปี
เครื่องมือหินกะเทาะที่ทำขึ้นมาหยาบๆ วาดผนังถ้ำ
เครื่องมือประณีตขึ้น เครื่องปั้นดินเผาผิวเรียบ
ใช้เครื่องมือหินขัด
เครื่องประดับ
เร่ร่อน ล่าสัตว์ จับปลา หาของป่า
เหมือนหินเก่าแต่เริ่มมีชุมชนเล็กๆ
เริ่มเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์ ตั้งถิ่นฐานถาวร


2. ยุคโลหะ

ยุคสำริด
ยุคเหล็ก
4,000-2,500ปี
2,500-1,500ปี
เครื่องมือเครื่องใช้ทำด้วย
สำริด(ทองแดง+ดีบุก)
ถลุงเหล็กมาใช้ทำเครื่องมือต่างๆ
โดยเฉพาะอาวุธ
สังคมเกษตรกรรม
เริ่มค้าขายระหว่างเมือง
สังคมเกษตรกรรม
มีเมืองศูนย์กลางการค้า


วันจันทร์, มิถุนายน 25, 2555

ระบบเศรษฐกิจ (ม.5)

ระบบเศรษฐกิจ

กระบวนการทางเศรษฐกิจที่เกิดจากความร่วมมือกันของมนุษย์ในการสร้างและใช้ทรัพยากรเพื่อตอบสนองความต้องการระหว่างกันของสมาชิกในสังคมที่มีการปฏิบัติที่คล้ายคลึงกัน

ทุนนิยม (Capitalism)

สังคมนิยม (Socialism)

แบบผสม (Mixed Economy)


เกณฑ์ในการพิจารณา
                   รูปแบบ
เกณฑ์
ทุนนิยม
สังคมนิยม
แบบผสม
เจ้าของปัจจัยการผลิต
เอกชน
รัฐ
เอกชนและชุมชน
ผู้กำหนดราคาสินค้า
กลไกราคา
รัฐ
กลไกราคา+รัฐ
บทบาทของเอกชน
100 %
0 %
ประมาณ 80 %
บทบาทของรัฐบาล
0 %
100 %
ประมาณ 20 %

ลักษณะสำคัญ
ทุนนิยม
สังคมนิยม
แบบผสม
เอกชนมีเสรีภาพในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

รัฐดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกรูปแบบ
เอกชนมีเสรีภาพในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
เอกชนการแข่งขันสูง
ไม่มีการแข่งขัน
มีการแข่งขัน
กำไรเป็นแรงจูงใจในการผลิต

กำไรทั้งหมดเป็นของรัฐ
รัฐประกอบกิจการในรูปแบบรัฐวิสาหกิจ
ไม่มีการวางแผนจากส่วนกลาง
ทั้งหมดเกิดจากการวางแผนจากส่วนกลาง
มีการแทรกแซงจากส่วนกลาง

ข้อดี
ทุนนิยม
สังคมนิยม
แบบผสม
Jเกิดแรงจูงใจ
Jคุณภาพสินค้าดีขึ้น
Jเสรีภาพในการใช้ทรัพยากร
Jผู้บริโภคมีทางเลือก
Jประชาชนได้รับสวัสดิการ
Jมีการจัดสรรทรัพยากร
Jมีการกระจายรายได้
Jไม่มีการผูกขาด
Jความผันผวนทางเศรษฐกิจน้อย
Jปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ได้ดี
Jรายได้ถูกเฉลี่ยตามความสามารถ
Jสินค้ามีให้เลือกและมีคุณภาพ
Jรัฐจัดสาธารณูปโภคให้

ข้อเสีย
ทุนนิยม
สังคมนิยม
แบบผสม
Jกระจายรายได้ไม่เท่าเทียม
Jยุ่งยากเมื่อเกิดวิกฤติการณ์
Jเกิดการผูกขาดและกดค่าแรง
Jการวางแผนไม่ดี
Jขาดแรงจูงใจ
Jขาดตัวเลือก
Jแรงจูงใจลดจากนโยบายของรัฐ
Jประสิทธิภาพในการพัฒนาน้อย
Jปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพยาก
Jรัฐวิสาหกิจเช้าชามเย็นชาม

ตัวอย่างปลายภาค รอบสุดท้าย

  1. ความหมายโดยทั่วไปของกฎหมายคืออะไร 1. ข้อบังคับของรัฐ 2. บรรทัดฐานในสังคม 3. จารีตประเพณี 4. บรรทัดฐานที่ศาลใช้ในการตัดสินคด...