1. ความหมายโดยทั่วไปของกฎหมายคืออะไร
1. ข้อบังคับของรัฐ
2.
บรรทัดฐานในสังคม
3.
จารีตประเพณี
4. บรรทัดฐานที่ศาลใช้ในการตัดสินคดี
2.
ข้อใดคือลักษณะทั่วไปของกฎหมาย
1.
ข้อบังคับซึ่งมุ่งหมายให้มนุษย์เป็นพลเมืองดี
2.
ข้อบังคับซึ่งกำหนดไว้เพื่อให้มนุษย์กระทำในสิ่งที่ถูกต้อง
3.
ข้อบังคับซึ่งกำหนดให้กระทำหรืองดเว้นกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง
4. ข้อบังคับกำหนดความประพฤติของมนุษย์เพื่อให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติ
3. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของกฎหมาย
1.
องค์ประกอบต้องเป็นข้อบังคับของรัฐ
2.
กฎหมายต้องมีบทลงโทษ
3. กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
4. กฎหมายเป็นข้อกำหนดความประพฤติและจิตใจของมนุษย์
4. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสำคัญของกฎหมาย
1. จะต้องมีสภาพบังคับ
2.
จะต้องมีกระบวนการในการจัดทำกฎหมายศาล
3. จะต้องมีผลบังคับเป็นการทั่วไป
4. จะต้องมีประสิทธิภาพในการบังคับที่ดีกว่ากลไกอื่นๆของสังคม
5. วัตถุประสงค์ที่สำคัญของกฎหมายคือข้อใด
1. การควบคุมความประพฤติของคนในสังคม
2. การประสานประโยชน์
3. การพัฒนาสังคมให้ก้าวหน้า
4. การระงับข้อพิพาท
6.
ลักษณะเด่นของกฎหมายคือข้อใด
1.
การป้องกัน
2.
การกำหนดพฤติกรรม
3. การบังคับ
4.
การลงโทษ
7.
ข้อใดแสดงว่ากฎหมายแตกต่างจากศีลธรรมมากที่สุด
1.
กฎหมายเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรแต่ศีลธรรมไม่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร
2. กฎหมายควบคุมมนุษย์ทางกาย แต่ศีลธรรมควบคุมมนุษย์ทางกายและจิตใจ
3.
กฎหมายมีบทกำหนดโทษผู้ฝ่าฝืนแต่ศีลธรรมไม่มีบทกำหนดโทษผู้ฝ่าฝืน
4.
กฎหมายเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นจากความจำเป็นทางสังคมแต่จะได้ทำเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นจากธรรมชาติ
8.
ข้อแตกต่างที่สำคัญระหว่างกฎหมายและจารีตประเพณีคืออะไร
1.
กฎหมายมีสภาพบังคับเสมอแต่จารีตประเพณีไม่มีสภาพบังคับ
2.
กฎหมายเกิดจากรัฐเป็นผู้กำหนดขึ้นแต่จารีตประเพณีเกิดจากการปฏิบัติของประชาชน
3.
กฎหมายตราขึ้นโดยรัฐสภาแต่จารีตประเพณีตราขึ้นเองโดยสังคม
4.
กฎหมายมีการกำหนดความผิดแต่จารีตประเพณีไม่มีการกำหนดความผิด
9.
ลักษณะใดที่ทำให้กฎหมายแตกต่างจากกฎและระเบียบอื่นๆ
1. เป็นกฎเกณฑ์ที่มีสภาพบังคับ
2.
เป็นกฎเกณฑ์ที่ทุกคนจะต้องปฏิบัติตาม
3. เป็นกฎเกณฑ์ที่ใช้ควบคุมความประพฤติของมนุษย์
4. เป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม
10.
คำกล่าวที่ว่า "ความไม่รู้กฎหมายไม่เป็นข้อแก้ตัว" หมายความว่าอย่างไร
1.
ทุกคนจำเป็นต้องรู้กฎหมาย
2.
กฎหมายบังคับให้ทุกคนรู้กฎหมาย
3.
ถึงไม่รู้กฎหมายก็ไม่เป็นไรแต่อย่าทำผิดกฎหมายก็แล้วกัน
4.
เมื่อมีการทำผิดกฎหมายจะอ้างว่าไม่รู้ว่ามีกฎหมายบัญญัติไว้เช่นนั้นไม่ได้
12.
บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกันข้อใดมีความหมายใกล้เคียงกับข้อความข้างต้นมากที่สุด
1.
ลูกชายและลูกสาวจะต้องได้รับเงินค่าขนมไปโรงเรียนเท่ากัน
2.
บุคคลทุกคนมีสิทธิ์เป็นทหารได้รับการตรวจคัดเลือก
3. แดงมีสิทธิเรื่องรถรับส่งของโรงเรียนได้เท่าเท่ากับขาว
4. รัฐจะใช้กฎหมายแก่บุคคลทุกคนเท่าเทียมกัน
13. ข้อความใดที่กล่าวถึงกฎหมายไม่ถูกต้อง
1.
กฎหมายคือสิ่งที่ศาลใช้ในการตัดสิน
2.
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับและบทลงโทษ
3.
กฎหมายเป็นข้อบังคับความประพฤติพลเมือง
4. กฎหมายเป็นข้อบังคับของประเทศซึ่งดูประเทศได้มาจากพลเมือง
14. การปฏิรูปกฎหมายและระบบศาลของไทยเกิดขึ้นอย่างจริงจังในรัชสมัยใด
1.
รัชกาลที่ 4 2. รัชกาลที่ 5
3.
รัชกาลที่ 6 4. รัชกาลที่ 7
15.
ประมวลกฎหมายที่ได้ชื่อว่าเป็นประมวลกฎหมายที่ทันสมัยฉบับแรกของไทยคือฉบับใด
1. กฎหมายลักษณะอาญา รศ. 127
2.
กฎหมายตราสามดวง
3.
กฎหมายลักษณะผัวเมีย
4.
ประมวลกฎหมายอาญา
16. พินัยกรรมข้อใดไม่อาจดำเนินการได้ตามกฎหมาย
1.
ยกเงินให้บุตรที่ไม่บรรลุนิติภาวะ
2. ยกบ้านให้แมวตัวโปรด
3.
ยกที่ดินให้สมาคมนักเรียนเก่า
4.
ยกตึกแถวให้คนวิกลจริต
17.
กฎหมายอิสลามนำมาใช้ในเขตสี่จังหวัดภาคใต้แทนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในส่วนที่ว่าด้วยเรื่องอะไร
1.
หนี้และทรัพย์สิน
2.
หลักทั่วไปและเอกเทศสัญญา
3. ครอบครัวและมรดก
4.
พินัยกรรมและการสมรส
18. ระบบกฎหมายที่ใช้อยู่ในประเทศไทยคือข้อใด
1.
ระบบกฎหมายมหาชน
2. ระบบประมวลกฎหมาย (civil law)
3.
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (common law)
4.
ระบบกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
19. ลักษณะสำคัญของกฎหมายสกุลโรมาโน-เยอรมันนิค คือข้อใด
1.
ยึดถือจารีตประเพณีเป็นใหญ่
2.
ยึดถือคำพิพากษาเป็นใหญ่
3. ยึดถือตัวบทกฎหมายเป็นใหญ่
4.
ยึดถือผลประโยชน์ของสังคมเป็นใหญ่
20. ข้อใดเป็นตัวอย่างของกฎหมายจารีตประเพณีในประเทศไทย
1. การชกมวยตามกติกา
2.
การแต่งชุดดำไปงานศพ
3.
การที่แพทย์ผ่าตัดคนไข้
4.
การที่บิดามารดามีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูบุตร
21. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสำคัญของกฎหมายจารีตประเพณี
1.
กำหนดแบบแผนความประพฤติของมนุษย์
2. เป็นคำสั่งของรัฏฐาธิปัตย์
3.
เมื่อฝ่าฝืนต้องได้รับโทษ
4.
ใช้บังคับต่อพลเมืองทั่วไป
22. เมื่อไม่มีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีกฎหมายไทยให้นำสิ่งใดมาปรับกับคดีแทน
1. จารีตประเพณีของท้องถิ่น
2.
คำพิพากษาของศาล
3.
ศีลธรรมจรรยา
4.
วิถีชาวบ้าน
23. การนำหลักจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นมาใช้บังคับได้ในกรณีใด
1.
ไม่สามารถของความมุ่งหมายแห่งบทบัญญัติที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งในเรื่องนั้นได้
2. ไม่มีกฎหมายบัญญัติในเรื่องนั้นไว้
3.
ไม่มีบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งบัญญัติในเรื่องนั้นไว้
4.
มีหลักกฎหมายทั่วไปบัญญัติในเรื่องนั้นไว้
24. การใช้บทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งนั้นในกฎหมายไทยยอมรับหรือไม่
1. ไม่ยอมรับ เพราะจะไม่เป็นธรรมกับผู้ไม่รู้
2. ไม่ยอมรับ
เพราะกฎหมายจะบังคับได้ต้องมีบัญญัติไว้โดยตรง
3. ไม่ยอมรับ เพราะกฎหมายต้องใช้ตามตัวอักษร
4. ยอมรับ โดยบัญญัติไว้ในการอุดช่องว่างในกฎหมายแพ่ง
25.
ประเภทของกฎหมายในข้อใดเกิดจากการแบ่งประเภทตามลักษณะความสัมพันธ์ของคู่กรณี
1.
กฎหมายอาญาและกฎหมายแพ่ง
2.
กฎหมายสารบัญญัติและกฎหมายวิธีสบัญญัติ
3.
กฎหมายลายลักษณ์อักษรและกฎหมายจารีตประเพณี
4. กฎหมายเอกชนกฎหมายมหาชนและกฎหมายระหว่างประเทศ
26.
การแบ่งกฎหมายออกเป็นกฎหมายแพ่งและกฎหมายอาญานั้นเป็นการแบ่งโดยยึดถืออะไรและเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
1.
เนื้อหาสาระของกฎหมาย
2.
บทบาทของกฎหมาย
3.
ลักษณะของกฎหมาย
4. สภาพบังคับ
27.
กฎหมายใดควบคุมความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับหน่วยงานของรัฐที่เป็นนิติบุคคล
1. กฎหมายอาญา
2. กฎหมายปกครอง
3. กฎหมายรัฐธรรมนูญ
4. กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
28.
กฎหมายอะไรได้กำหนดสิทธิหน้าที่และความรับผิดชอบของบุคคล
1. กฎหมายสารบัญญัติ
2. กฎหมายมหาชน
3. กฎหมายวิธีสบัญญัติ
4. กฎหมายเอกชน
29. ประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์/ประมวลกฎหมายอาญาจัดเป็นกฎหมายประเภทใด
1.
กฎหมายมหาชน
2.
กฎหมายตามแบบพิธี
3. กฎหมายสิทธิหน้าที่และความรับผิดชอบของบุคคล
4.
กำหนดวิธีการบังคับให้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายสารบัญญัติ
30. ข้อใดคือคำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญ
1.
กฎหมายมหาชนเพราะจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
2. กฎหมายมหาชนเพราะเป็นกฎหมายที่จัดความสัมพันธ์ของการใช้อำนาจอธิปไตย
3.
กฎหมายเอกชนเพราะบัญญัติซึ่งสิทธิเสรีภาพและความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกชนบุคคล
4.
กฎหมายเอกชนเพราะเป็นกฎหมายบัญญัติถึงสถานะและความสามารถของประชาชน
31. ข้อใดไม่ใช่กฎหมายมหาชน
1.
รัฐธรรมนูญ
2. กฎหมายแพ่ง
3.
กฎหมายอาญา
4.
กฎหมายปกครอง
32. พฤติกรรมใดไม่ได้เกี่ยวข้องกับกฎหมายมหาชน
1. นาย ก.
ถูกศาลตัดสินจำคุกเท่าฐานลักทรัพย์ผู้อื่น
2.
รัฐสภาได้ร่วมกันบัญญัติกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งซ่อม
3. นาย ค.
ได้ฟ้องร้องต่อศาลในกรณีที่ถูกเจ้าหน้าที่กักขังโดยไม่ได้ทำผิดใดๆ
4.
รัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้ขอให้ไทยส่งชาวอเมริกาที่ค้ายาเสพติดไปรับโทษในประเทศนั้น
33. กฎหมายในข้อใดอยู่ในลำดับศักดิ์ของกฎหมายชั้นเดียวกัน
1. พระราชกฤษฎีกาและพระราชบัญญัติ
2. พระราชบัญญัติและประมวลกฎหมาย
3.
พระราชกำหนดและพระราชกฤษฎีกา
4.
ประมวลกฎหมายและพระราชกฤษฎีกา
34.
กฎหมายใดมีที่มาแตกต่างจากกฎหมายอื่น
1. เทศบัญญัติ
2.
พระราชกำหนด
3.
พระราชกฤษฎีกา
4.
กฎกระทรวง
35.
กติกาในการเล่นฟุตบอลกำหนดแนวทางการเล่นฟุตบอลตลอดจนโครงสร้างและผู้เล่นของแต่ละทีมอยากทราบว่ากฎหมายในข้อใดที่ทำหน้าที่คล้ายๆกับกติกาดังกล่าว
1.
พระราชกำหนด
2.
พระราชกฤษฎีกา
3.
พระราชบัญญัติ
4. รัฐธรรมนูญ
36.
ในกรณีที่บ้านเมืองตกอยู่ในภาวะฉุกเฉินมีความจำเป็นต้องใช้กฎหมายเพื่อรักษาความปลอดภัยของประชาชนอย่างเร่งด่วนรัฐบาลมีอำนาจออกกฎหมายประเภทใดขึ้นใช้ได้
1. พระราชกำหนด
2.
พระราชกฤษฎีกา
3.
พระราชบัญญัติ
4.
กฎกระทรวง
37.
พระราชบัญญัติและพระราชกําหนดมีความคล้ายกันในเรื่องใด
1.
เป็นกฎหมายที่ตราขึ้นโดยฝ่ายบริหาร
2. เป็นระเบียบข้อบังคับใช้ควบคุมการประพฤติปฏิบัติของประชาชน
3.
ก่อนที่จะประกาศใช้ต้องได้รับการพิจารณาอนุมัติจากรัฐสภา
4.
เป็นกฎหมายที่มีลำดับความสำคัญเทียบได้กับประมวลกฎหมาย
4.
รัฐธรรมนูญ ธรรมนูญการปกครอง ประกาศกระทรวง
38.
ข้อใดไม่ใช่กฎหมายที่ตราขึ้นโดยฝ่ายบริหาร
1.
กฎทบวง
2.
พระราชกำหนด
3.
พระราชกฤษฎีกา
4. พระราชบัญญัติ
39.
กฎหมายปกครองเป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเป็นสำคัญ
1.
การใช้อำนาจอธิปไตย
2. การจัดระเบียบบริหารราชการ
3.
การถ่วงดุลอำนาจทางการเมือง
4.
การคุ้มครองสิทธิของประชาชน
40.
กฎหมายที่ต้องตีความโดยเคร่งครัดคือกฎหมายใด
1.
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
2.
กฎหมายแพ่ง
3. กฎหมายอาญา
4.
กฎหมายมหาชน
41.
องค์กรใดในระบบการปกครองของไทยไม่มีหน้าที่ออกกฎหมาย
1.
วุฒิสภา
2.
สภาเทศบาล
3.
คณะรัฐมนตรี
4. ศาลรัฐธรรมนูญ
42.
การเรียกเบี้ยปรับวันละสองพันบาท จนกว่าจะปฏิบัติตามสัญญาถือว่าเป็นอะไร
1.
โทษทางกฎหมายมหาชน
2. สภาพบังคับทางแพ่ง
3.
กฎหมายเอกชน
4.
ประเพณีทางการการค้าแพ่งและพาณิชย์
43.
ได้ปกติแล้วกฎหมายจะสิ้นผลบังคับเมื่อใด
1.
ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี
2.
ศาลรัฐธรรมนูญตีความว่าขัดกับรัฐธรรมนูญ
3.
ออกพระราชกฤษฎีกายกเลิกพระราชบัญญัตินั้น
4. มีการออกกฎหมายใหม่มายกเลิกกฎหมายนั้น
44.
การจัดลำดับศักดิ์ของกฎหมายมีประโยชน์อย่างไร
1.
รู้จักความสำคัญของกฎหมายต่างๆ
2.
เรียงลำดับความสำคัญของกฎหมายได้อย่างถูกต้อง
3.
พิจารณาได้ว่ากฎหมายที่มีศักดิ์สูงกว่าย่อมยกเลิกกฎหมายที่มีศักดิ์ต่ำกว่า
4.
พิจารณาได้ว่ากฎหมายใดใช้ก่อนหรือหลังอีกฉบับหนึ่ง
45. ข้อใดไม่ใช่นิติบุคคล
1. อำเภอ
2.
ทบวงการเมือง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม
3.
ห้างหุ้นส่วนจำกัด
4.
วัดวาอาราม
46. สิทธิของบุคคลเริ่มตั้งแต่เมื่อใด
1.
เมื่อบิดามารดารับรองว่าเป็นบุตร
2. ว่าอยู่ในครรภ์มารดานับตั้งแต่มารดาเริ่มตั้งครรภ์
3.
เมื่อคลอดจากครรภ์มารดาด้วยความปลอดภัย
4.
เมื่อบิดามารดาแจ้งการต่อเจ้าหน้าที่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด
47.
กฎหมายได้บัญญัติให้บุคคลมีที่อยู่เป็นประจำและเรียกที่อยู่นี้ว่าอะไร
1.
สำมะโนครัว
2. ภูมิลำเนา
3. สถานะ
4.
ความสามารถ
48.
ข้อใดไม่ต้องจดทะเบียนสถานะของบุคคล
1. การบรรลุนิติภาวะ
2.
การสมรส
3.
การรับรองบุตร
4.
การเลิกรับรองบุตรบุญธรรม
49.
ข้อใดเป็นผลของการสาบสูญ
1.
ต้องจัดให้มีผู้พิทักษ์
2.
การสำรวจย่อมสิ้นสุดลง
3.
กฎหมายกำหนดภูมิลำเนาให้
4. ทรัพย์มรดกตกทอดแก่ทายาท
50.
บุคคลใดคือผู้ที่ศาลแต่งตั้งให้เป็นผู้ดูแลคนไร้ความสามารถ
1.
ผู้พิทักษ์ 2. ผู้อภิบาล
3. ผู้อนุบาล 4. ผู้ปกครอง
51.
ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับผลของพินัยกรรมที่ทำโดยผู้เยาว์
1. มีผลเป็นโมฆียะเพราะไม่เป็นไปตามหลักเรื่องความสามารถในการทำนิติกรรม
2.
มีผลเป็นโมฆะเพราะตามหลักกฎหมายมรดกห้ามไม่ให้ผู้เยาว์ทำพินัยกรรม
3.
มีผลเป็นโมฆะถ้าหากผู้เยาว์ที่มีอายุต่ำกว่าสิบห้าปีบริบูรณ์เป็นผู้ทำพินัยกรรม
4. มีผลเป็นโมฆียะเพราะการแสดงเจตนาในการทำพินัยกรรมของผู้เยาว์ไม่สมบูรณ์
52. ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในส่วนเกี่ยวกับเรื่องความสามารถข้อใดผิด
1.
ผู้เยาว์อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปสามารถทำพินัยกรรมได้
3.
ผู้เยาว์ที่ถูกจำกัดความสามารถไม่สามารถเป็นเจ้าของทรัพย์สินได้
3. การจำกัดความสามารถในการทำพินัยกรรมมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองประโยชน์ของคนวิกลจริต
4.
การตกเป็นบุคคลไร้ความสามารถหรือบุคคลเสมือนไร้ความสามารถมีผลทันที่ที่ศาลได้มีคำพิพากษา
53.
จากหลักเกณฑ์ของกฎหมายแพ่งที่เกี่ยวกับผู้เยาว์ข้อใดผิด
1.
ผู้เยาว์ตกอยู่ในฐานะลูกหนี้ได้
2.
ผู้เยาว์บรรลุนิติภาวะได้ด้วยการสมรส
3.
ผู้เยาว์ถูกจำกัดความสามารถในการทำนิติกรรม
4.
ผู้เยาว์ถูกจำกัดความสามารถในการเป็นเจ้าของบ้านและที่ดิน
54.
บุคคลใดมีอำนาจทำนิติกรรมแทนผู้เยาว์
1. ผู้รับมอบอำนาจจากผู้เยาว์
2. ผู้อนุบาล
3.
ผู้แทนโดยชอบธรรม
4. ผู้พิทักษ์
55. บุคคลใดอาจถูกศาลสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
1. ผู้เยาว์
2.
คนไร้ความสามารถ
3.
คนปัญญาอ่อน
4. คนวิกลจริต
56.
คนติดยาบ้าอาจถูกร้องขอให้ศาลสั่งว่าเป็นผู้หย่อนความสามารถประเภทใด
1. ผู้อนุบาล
2. คนวิกลจริต
3.
คนไร้ความสามารถ
4.
คนเสมือนไร้ความสามารถ
57.
การเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถสิ้นสุดลงเมื่อใด
1.
ผู้พิทักษ์ตาย
2.
ศาลเพิกถอนคำสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถแล้ว
3.
ศาลสั่งถอนผู้พิทักษ์
4.
อาการจิตฟันเฟือนหายเป็นปกติ
58.
ถ้าชายผิดสัญญาหมั้นหญิงคู่หมั้นมีสิทธิอย่างไร
1.
เรียกค่าทดแทนความเสียหายต่อกายและจิตใจของหญิงได้
2.
เรียกค่าทดแทนความเสียหายต่อชื่อเสียงของหญิงได้
3.
ริบของหมั้นแต่จะเรียกค่าทดแทนอีกไม่ได้
4.
ริบของหมั้นและร้องขอให้ศาลบังคับสมรสได้
59. เด็กชายดำเป็นบุตรนอกสมรสของนายเงินและนางทองต่อมานางทองได้สมรสกับนายเพชรและได้นำเด็กชายดำไปเลี้ยงดูด้วยใครเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของเด็กชายดำ
1.
นายเงินและนางทอง
2.
นางทองและนายเพชร
3.
นายเงินหรือนางทอง
4.
นางทองคนเดียว
60. บุคคลคู่ใดสามารถทำการสมรสได้ตามกฎหมาย
1. บุคคลร่วมบิดาแต่ต่างมารดากัน
2.
หญิงหย่ากับคู่สมรสเดิมนับจากวันหย่าก่อน 310 วัน
3.
พ่อบุญธรรมกับบุตรบุญธรรมซึ่งเป็นหญิงบรรลุนิติภาวะแล้ว
4.
ฝ่ายชายเป็นลูกของพี่ชายพ่อฝ่ายหญิงเป็นลูกของน้องชายพ่อ
61. บุคคลอายุ
16 ปีสามารถทำการสมรสได้ในกรณีใด
1.
ได้รับอนุญาตจากศาล
2.
ได้รับการยินยอมจากบิดามารดาหรือผู้แทนโดยชอบธรรม
3.
ไม่มีสิทธิที่จะทำการสมรสได้เลยไม่ว่าในกรณีใดๆ
4.
บิดามารดาถึงแก่ความตายหรือถูกถอนอำนาจปกครองทั้งสองคน
62.
การสมรสใดเป็นการสมรสที่เป็นโมฆียะ
1.
บุตรบุญธรรมสมรสกับผู้รับบุตรบุญธรรม
2.
การสมรสโดยสำคัญผิดในฐานะของคู่สมรส
3.
การสมรสโดยข่มขู่
4.
การสมรสระหว่างปู่กับหลาน
63.
การที่ชายสมรสกับหญิงโดยเข้าใจผิดคิดว่าหญิงนั้นเป็นลูกเศรษฐีแท้ที่จริงเป็นคนสวนการสมรสดังกล่าวมีผลอย่างไร
1. สมบูรณ์
2. ไม่สมบูรณ์
3. เป็นโมฆียะ
4. เป็นโมฆะ
64.
ทรัพย์สินในข้อใดถือว่าเป็นสินส่วนตัว
1.
ดอกผลของสินส่วนตัว
2. รายได้จากการประกอบอาชีพของคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอ
3. ทรัพย์สินที่คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาโดยการรับมรดก
4.
อสังหาริมทรัพย์ที่คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรส
65. ข้อใดไม่ใช่การทำนิติกรรม
1.
ลูกทำพินัยกรรมยกทรัพย์สินต่างๆของตนให้แก่บิดามารดา
2.
การนำสัญญาซื้อขายบ้านและที่ดินไปจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ
3. บริษัทยื่นซองเสนอราคาเก้าอี้ต่อโรงเรียนเพื่อประกวดราคา
4. โรมติดต่อทิมเพื่อจะเสนอขายที่ดินของอุ้งอิ๊งในราคา 1 ล้านบาท
65.
ข้อใดต่อไปนี้เป็นนิติกรรมฝ่ายเดียว
1. ให้เปล่า
2. พินัยกรรม
3. จ้างแรงงาน
4. ละเมิด
66. นิติกรรมใดไม่เป็นโมฆะ
1.
ทำผิดแบบของนิติกรรม
2.
มีวัตถุประสงค์ขัดต่อกฎหมาย
3. ทำผิดหลักเกณฑ์ว่าด้วยความสามารถของบุคคล
4. เป็นการพ้นวิสัย
67.
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์กำหนดให้ต้องทำสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรเมื่อกู้ยืมเงินเกินกว่าจำนวนเท่าใดจึงจะฟ้องร้องบังคับคดีได้
1. เกินกว่า 50
บาท
2. เกินกว่า 100
บาท
3. เกินกว่า 500
บาท
4. เกินกว่า 2,000 บาท
68.
สิทธิข้อใดต่อไปไปนี้ไม่เป็นทรัพยสิทธิ
1.
สิทธิครอบครอง
2. สิทธิจำนอง
3. สิทธิเช่าซื้อ
4. สิทธิเก็บกิน
69. ตามกฎหมายว่าด้วยมรดกใครคือทายาทโดยธรรมลำดับแรก
1. บิดามารดา
2. คู่สมรส
3.
ผู้รับพินัยกรรม
4.
ผู้สืบสันดาน
70. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักกฎหมายมรดก
1.
เฉพาะทายาทโดยพินัยกรรมมีสิทธิในการได้รับมรดก
2.
มรดกมีความหมายครอบคลุมถึงทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ตายด้วย
3. ทารกในครรภ์มารดาที่ยังไม่มีสภาพบุคคลมีสิทธิในกองมรดก
4.
ทายาทไม่ต้องรับผิดชอบในทางกฎหมายเกินไปกว่าสิทธิที่ได้มาจากการรับมรดก
71. ทายาทของเจ้ามรดกต้องรับผิดในหนี้สินที่เจ้ามรดกก่อไว้เพียงใด
1.
ไม่ต้องรับผิดในฐานะทายาทแต่อย่างใด
2.
จะรับผิดเมื่อมีมรดกตกได้แก่ทายาทเท่านั้น
3. ไม่ต้องรับผิดในฐานะส่วนตัวและในฐานะทายาท
4.
รับผิดเพียงเท่าที่มรดกตกทอดได้แก่ตนเท่านั้น
72. การทำสัญญาเช่าซื้อรถยนต์โดยตกลงกันด้วยวาจา
ใช้ได้หรือไม่เพราะเหตุใด
1. ใช้ได้ แต่ถ้าจะฟ้องร้องต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
2. ใช้ได้ แต่ต้องมีพยานรับรองอย่างน้อยคน
3.
ใช้ไม่ได้ เพราะต้องทำเป็นหนังสือ
4. ใช้ไม่ได้ เพราะต้องไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
73.
ข้อใดคือความหมายของคำว่า “ทรัพย์”
ตามประมวลกฎหมายอาญา
1.
สิ่งที่มีราคา
2.
สิ่งที่มีรูปร่างและมีราคา
3.
สิ่งที่มีรูปร่างและไม่มีรูปร่างที่มีราคา
4.
วัตถุมีรูปร่างซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได้
74.
ฟิล์มขายแหวนให้หนุ่มในราคา 3,000 บาทโดยมีข้อตกลงให้ฟิล์มมีสิทธิ์รับแหวนคืน
เมื่อได้ชำระเงิน 30,000 บาท กรณีนี้ถือว่าเป็นสัญญาประเภทใด
1. สัญญาจำนอง
2. สัญญาขายฝาก
3.
สัญญาต่างตอบแทน
4. สัญญาจะซื้อจะขาย
75.
กรณีใดต่อไปนี้ไม่ใช่หน้าที่ของบิดามารดาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
1.
อุปการะเลี้ยงดู บุตรผู้เยาว์
2. อุปการะเลี้ยงบทที่หาเลี้ยงตนเองไม่ได้
3. อุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้บรรลุนิติภาวะ
4.
อุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้ทุพพลภาพและหาเลี้ยงตนเองไม่ได้
76.
การรับบุคคลอายุ 17 ปีและสมรสแล้ว เป็นบุตรบุญธรรมจะต้องได้รับความยินยอมจากใครบ้าง
1. บิดามารดาและคู่สมรส
2. จากบิดามารดา
ตัวเองและคู่สมรส
3 ตัวเองและคู่สมรส
4. บิดาในฐานะผู้ใช้อำนาจปกครองและคู่สมรส
77.
ข้อใดไม่สอดคล้องกับหลักกฎหมายอาญา
1.
การห้ามประกอบอาชีพได้อย่างเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายอาญา
2. การที่ผู้ทำผิดความผิดทางอาญาถึงแก่ความตายไม่ทำให้คดีอาญาระงับ
3.
กฎหมายอาญาจัดอยู่ในประเภทกฎหมายมหาชน
4.
กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลัง
78.
ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์สำคัญของกฎหมายอาญา
1. ไม่มีกฎหมาย ไม่มีความชั่ว
2. ไม่มีกฎหมาย
ไม่มีความผิดและโทษ
3. ต้องตีความกฎหมายอาญาโดยเคร่งครัด
4. กฎหมายอาญาจะย้อนหลังให้คนร้ายมีได้
79.
ข้อใดเป็นโทษทางอาญา
1. กักกัน
2. เรียกประกันทัณฑ์บน
3. ริบทรัพย์สิน
4.
ห้ามเข้าเขตกำหนด
80. บุตรลักทรัพย์ของบิดา กฎหมายที่ถือว่าเป็นความผิดทางอาญาประเภทใด
1. ความผิดที่ยอมความได้
2. ความผิดอาญาแผ่นดิน
3.
ความผิดที่กฎหมายยกเว้นโทษให้
4.
ความผิดลหุโทษ