วันศุกร์, มกราคม 01, 2564

ตัวอย่างปลายภาค ม.6

 

1. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของเงินเฟ้อที่เกิดจากทางด้านอุปทาน

1. การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงินในประเทศ

2. การเพิ่มขึ้นของค่าแรง

3. การเพิ่มขึ้นของภาษีนำเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศ

4. การเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ย

2. เงินเฟ้อก่อให้เกิดผลกระทบตามข้อใด

1. รัฐเก็บภาษีเงินได้น้อย

2. อำนาจซื้อของผู้มีรายได้ประจำสูงขึ้น

3. ลูกหนี้ได้เปรียบเจ้าหนี้เสียเปรียบ

4. ลูกหนี้เสียเปรียบเจ้าหนี้ได้เปรียบ

3. ผลกระทบของการเกิดภาวะเงินเฟ้อที่ถูกต้องที่สุด

1. ทำให้ผู้ซื้อได้เปรียบแต่ผู้ขายเสียเปรียบ

2. ทำให้เจ้าหนี้ได้เปรียบแต่ลูกหนี้เสียเปรียบ

3. ทำไมลูกหนี้ได้เปรียบแต่เจ้าหนี้เสียเปรียบ

4. ทำไมธนาคารผู้ให้บริษัทห้างร้านกู้ได้ประโยชน์มาก

4. ข้อใดไม่ใช่ผลจากการที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

1. อำนาจซื้อของเงิน 1 หน่วยลดลง

2. ค่าครองชีพของประชาชนสูงขึ้น

3. ลูกหนี้ที่ทำสัญญากู้เงินระยะยาวจะเสียเปรียบเจ้าหนี้

4. การกระจายรายได้ไม่เท่าเทียมกันมากขึ้น

5. เมื่อเกิดภาวะเงินเฟ้อขึ้นในระบบเศรษฐกิจผู้ใดเป็นผู้ได้ประโยชน์

1. ผู้เป็นลูกหนี้ที่มีสัญญากู้ระยะยาว

2. ผู้ได้รับเงินจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

3. ผู้ผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก

4. ผู้ได้รับรายได้จากดอกเบี้ยเงินฝาก

6. ใครที่จะได้รับผลกระทบจากภาวะเงินเฟ้อมากที่สุด

1. ครูที่โรงเรียน

2. เจ้าของโรงเรียน

3. พ่อค้าขายน้ำแข็ง

4. แม่ค้าขายข้าวแกง

7. ข้อใดไม่ถูกต้อง

1. เมื่อเกิดภาวะเงินเฟ้อค่าของเงินลดต่ำลง

2. เมื่อเกิดภาวะเงินเฟ้อเจ้าหนี้ได้เปรียบในการชำระหนี้

3. ภาวะเงินเฟ้อเป็นภาวะที่ระดับราคาสินค้าสูงขึ้นอันเนื่องมาจากต้นทุนในการผลิตสินค้าสูงขึ้น

4. ภาวะเงินเฟ้อเป็นภาวะที่ระดับราคาสินค้าสูงขึ้นอันเนื่องมาจากความต้องการในการบริโภคสินค้าและบริการมากกว่า ปริมาณที่ผลิตได้หลังจากมีการจ้างงานเต็มที่

8. ปัญหาเงินเฟ้อทำให้เกิดผลเสียหายหลายประการยกเว้นข้อใด

1. ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการสูงขึ้น

2. ราคาสินค้าอุตสาหกรรมส่งออกเพิ่มขึ้น

3. อัตราค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำสูงขึ้น

4. ค่าครองชีพของประชาชนสูงขึ้น

9. ข้อใดเป็นผลกระทบของภาวะเงินฝืด

1. ค่าของเงินเพิ่มสูงขึ้น

2. ราคาสินค้าโดยทั่วไปเพิ่มขึ้น

3. ลูกหนี้ต้องชำระหนี้เพิ่มขึ้น

4. ผู้มีรายได้ประจำเสียเปรียบ

10. หากมีภาวะเงินฝืดเกิดขึ้นแล้วจะทำให้เกิดผลประโยชน์กับใคร

1. ทำให้พ่อค้าได้เปรียบ

2. ทำให้รัฐบาลได้เปรียบ

3. ทำให้อำนาจซื้อของเจ้าหนี้ดีขึ้น

4. ทำไมอำนาจซื้อของลูกหนี้ดีขึ้น

11. รัฐบาลใช้มาตรการทางการคลังในการแก้ปัญหาเงินเฟ้ออย่างไร

1. ขึ้นค่าเงินบา

2. ขึ้นเงินเดือนข้าราชการ

3. ขึ้นอัตราภาษีเงินได้

4. ขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก

12. การดำเนินการในข้อใดช่วยแก้ไขปัญหาเงินซื้อได้

1. ธนาคารการประกาศรับซื้อคืนพันธบัตร

2. ลดอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย

3. เพิ่มอัตราซื้อลดตั๋วเงินจากธนาคารพาณิชย์

4. ผ่อนคลายการกำกับแผนการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์

13. การแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อในระยะยาวทำได้โดยวิธีใด

1. ลดอัตราภาษี ลดค่าใช้จ่ายของรัฐ ลดอัตราดอกเบี้ย

2. เพิ่มภาษี ลดค่าใช้จ่ายของรัฐ เพิ่มอัตราดอกเบี้ย

3. เพิ่มอัตราภาษี เพิ่มการใช้จ่ายของรัฐ เพิ่มอัตราดอกเบี้ย

4. ลดอัตราภาษี เพิ่มการใช้จ่ายของรัฐ ลดอัตราดอกเบี้ย

14. มาตรการใดที่มีส่วนช่วยลดภาวะเงินเฟ้อให้บรรเทาลง

1. การรับซื้อพันธบัตรรัฐบาลคืนจากประชาช

2. การเพิ่มการสั่งซื้อสินค้าเข้าจากต่างประเทศ

3. การลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของธนาคารพาณิชย์

4. การลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของธนาคารพาณิชย์

15. เมื่อระบบเศรษฐกิจประสบภาวะเงินเฟ้อรัฐบาลจะใช้มาตรการนโยบายการเงินแก้ไขโดยวิธีใด

1. การลดอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลาง

2. การลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของธนาคารพาณิชย์

3. การลดอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย

4. การลดการขยายเครดิตของธนาคารพาณิชย์

16. ถ้าตาเงินเฟ้อสูงขึ้นมากนโยบายในข้อใดจะช่วยปัญหานี้ได้และเพราะเหตุใด

1. เพิ่มอัตราภาษีให้สูงขึ้นเพื่อลดอำนาจซื้อของประชาชน

2. ลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อจูงใจให้เอกชนกู้เงินไปลงทุนมากขึ้น

3. รัฐบาลเพิ่มเงินเดือนข้าราชการและลูกจ้างเพื่อบรรเทาความเดือดร้อน

4. ลดอัตราเงินสำรองตามกฎหมายของธนาคารพาณิชย์เพื่อกระตุ้นการปล่อยเงินเชื่อ

17. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทำให้เกิดเงินเฟ้อ

1. รัฐบาลและเอกชนใช้จ่ายเงินมากเกินไป

2. รัฐบาลเพิ่มปริมาณเงินที่ใช้หมุนเวียนในประเทศมากเกินไป

3. รัฐบาลใช้นโยบายงบประมาณแบบเกินดุลมากเกินไป

4. รัฐบาลใช้จ่ายในด้านที่ไม่เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยตรงมากเกินไป

18. รัฐบาลควรดำเนินการอย่างไรเมื่อประสบปัญหาเงินเฟ้อ

1. กระตุ้นให้สถาบันการเงินปล่อยเงินกู้แก่ประชาชนเพิ่มขึ้น

2. กระตุ้น การออมภาคประชาชนโดยเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินฝากในธนาคาร

3. ส่งเสริมการลงทุนในโครงการขนาดใหญ่ ช่วยกระตุ้นการจ้างงาน

4. ส่งเสริมการลงทุนในธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก

19. ถ้าคาดว่าตายเงินเฟ้อจะสูงขึ้นต่อไปอีก ธนาคารกลางจะต้องดำเนิน มาตรการใดเพื่อชะลอเงินเฟ้อ

1. ขึ้นอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วสัญญาใช้งานจากธนาคารพาณิชย์

2. ขึ้นอัตราภาษีดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารพาณิชย์

3. ลดอัตราดอกเบี้ยธนาคารกลาง

4. ลดอัตราจ้างขั้นต่ำ

20. ข้อใดเป็นนโยบายการเงินแบบขยายตัว ในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ

1. การเพิ่มปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ

2. การขายหลักทรัพย์ของธนาคารกลาง

3. การจำกัดอัตราการขายสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์

4. การขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลาง

21. ข้อใดเป็นการใช้นโยบายการคลังแบบหดตัวเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

1. การลดอัตราการบรรจุข้าราชการใหม่

2. การลดรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ

3. การขึ้นอัตราภาษีดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

4. การขึ้นราคาค่าสาธารณูปโภคของรัฐวิสาหกิจ

22. นโยบายการเงินนโยบายใดที่รัฐบาลสามารถนำมาใช้ในการเพิ่มลดปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจได้

1. การเพิ่มลดอัตราภาษีในระบบเศรษฐกิจ

2. การเพิ่มลดปริมาณการซื้อขายพันธบัตรรัฐบาล

3. การเพิ่มลดปริมาณการใช้จ่ายเงินในส่วนของรัฐบาล

4. การเพิ่มลดปริมาณการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศของรัฐบาล

23. มาตรการใดที่ธนาคารแห่งประเทศไทยนำมาใช้บ่อยที่สุดในการกระตุ้นเศรษฐกิจ

1. ลดอัตราดอกเบี้ย

2. ลดค่าเงินบาท

3. เพิ่มการออกพันธบัตรขายให้ประชาชน

4. เพิ่มอัตราเงินสดสำรองของธนาคารพาณิชย์

24. นโยบายการเงินนโยบายใดสมควรดำเนินการเพื่อแก้ปัญหาการว่างงานของประเทศ

1. ลดอัตราการขยายตัวของการให้เครดิตของธนาคารพาณิชย์ลง

2. บังคับให้ธนาคารพาณิชย์ซื้อพันธบัตรรัฐบาลเพิ่มขึ้น

3. เพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของธนาคารพาณิชย์

4. ลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของธนาคารพาณิชย์

25. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่มีผลทำให้ปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจเพิ่มสูงขึ้น

1. การพิมพ์ธนบัตรและจัดทำเหรียญกษาปณ์ออกใช้เพิ่มขึ้น

2. การเก็บภาษีเพื่อให้รัฐบาลมีเงินมาใช้จ่ายเพิ่มขึ้น

3. การประกาศลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของธนาคารพาณิชย์

4. งบประมาณของรัฐบาลขาดดุลเพิ่มขึ้น

26. มาตราการช่วยลดอุปสงค์รวมในเศรษฐกิจ

1. ธนาคารเเห่งประเทศไทยลดอัตราเงินสดสำรองของธนาคารพาณิชย์

2. ธนาคารพาณิชย์ซื้อหลักทรัพย์จากธนาคารเเห่งประเทศไทย

3. ธนาคารเเห่งประเทศไทยซื้อหลักทรัพย์จากประชาชน

4. รัฐบาลลดอัตราภาษีเรียกเก็บจากเงินได้บุคคลธรรมดา

27. มาตราการใดใช้เเก้ปัญหาเงินเฟ้อจากระยะยาว

1. ลดการใช้จ่ายของรัฐบาล

2. เพิ่มอัตราดอกเบี้ย

3. ลดรายจ่ายในการลงทุน

4. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต

28. ในกรณีที่เกิดภาวะเงินฝืดมาตรการในข้อใดไม่สามารถนำมาใช้เเก้ปัญหาทางเศรษกิจได้

1. ธนาคารกลางลดอัตราดอกเบี้ย

2. รัฐบาลลดอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม

3. ธนาคารพาณิชย์เพิ่มการปล่อยสินเชื่อ

4. ธนาคารกลางลดการขายพันธบัตร

29. มาตราการใดมีส่วนช่วยเเก้ปัญหาภาวะเงินฝืดของประเทศได้

1. ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล

2. ให้ธนาคารกลางซื้อคืนพันธบัตร

3. ออกระเบียบให้เอกชนเพิ่มการกู้เงินจากต่างปาะเทศ

4. เพิ่มการดุลทางการคลัง

30. มาตารการของรัฐบางข้อใดถูกต้องมากที่สุดตามหลักวิชาเศรษฐศาสตร์

1. เพิ่มอัตราซื้อรับตั๋วเงินเมื่อมีภาวะเงินเฟ้อ

2. เพิ่มภาษีเงินได้ของบุคคลธรรมดาเมื่อมีภาวะเงินเฟ้อ

3. ลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เมื่อมีภาวะเงินผืด

4. เพื่อมความต้องการสินค้าเเละบริการของประชาชนลงเมื่อมีภาวะเงินฝืด

31. เมื่อเกิดภาวะเงินฝืดสถานการณ์ใดมีเเนวโน้มว่าจะเกิดขึ้น

1. ประชาชนจะลงทุนในหารผลิตเพิ่มขึ้นเพื่อหวังขายสินค้าในราคาสูง

2. ประชาชนจับจ่ายใช้ของน้อยลงเนื่องจากราคาสินค้าสูง

3. ประชาชนจะใช้จ่ายในกรณีเก็งกำไรมากขึ้นเพื่อหวังขายทรัพย์สินที่ซื้อไว้ในราคาสูง

4. รัฐบาลจะลดภาษีที่จัดเก็บเพื่อให้ประชาชนสามารถซื้อสินค้าในราคาที่สูงขึ้นได้

32. การลดอัตราเงินได้และการลดอัตราดอกเบี้ยเป็นการช่วยเเก้ปัญหาในข้อใด

1. เงินตึงตัว/การขาดสมดุลการค้า/เงินเฟ้อ

2. การว่างาน/เงินฝืด

3. เงินเฟ้อ/เงินตึงตัว/การว่างงาน

4. การขาดดุลการค้า/เงินฝืด

33. ถ้าอัตราเงินเฟ้อของปีนี้เท่ากับ 4.8 เเต่ขาดว่าจะสูงขึ้นร้อยละ 6.5 ในปีหน้าและมีเเนวโน้มจะสูงขึ้นอีกในปีต่อไป รัฐบาลควรดำเนินนโยบายการคลังในปีหน้าอย่างไเพื่อเเก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ

1. กำหนดวงเงินงบประมาณรายจ่ายในปีหน้าลดลงจากปีนี้ร้อยละ 1.7 หรือมากกว่า

2. จัด ทำงบประมาณรายจ่ายในปีหน้าไม่ให้สูงกว่าประมาณการรายได้

3. กู้ยืมเงินจากต่างประเทศใช้จ่ายแทนการกู้ยืมเงินจากประชาชนในประเทศ

4. เพิ่มอัตราภาษีสินค้าเข้าและลดอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นการชดเชย

34. ข้อใดเป็นนโยบายการเงินในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจถดถอย

1. เพิ่มวงเงินงบประมาณรายจ่าย

2. เพิ่มการรับซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาล

3. ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล

4. เพิ่มการปล่อยสินเชื่อในพาณิชย์

35. ข้อใดเป็นการใช้นโยบายการเงินในการแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ

1. เพิ่มอัตราส่วนลด เพิ่มอัตราเงินสดสำรอง ขายพันธบัตรรัฐบาล

2.. เพิ่มอัตราส่วนลด ลดอัตราเงินสดสำรอง ขายพันธบัตรรัฐบาล

3. ลดอัตราส่วนลด เพิ่มอัตราเงินสดสำรอง ซื้อพันธบัตรรัฐบาล

4. ลดอัตราส่วนลด ลดอัตราเงินสดสำรอง  ซื้อพันธบัตรรัฐบาล

36. เมื่อเกิดภาวะเงินเฟ้อในระบบเศรษฐกิจรัฐบาลสามารถแก้ไขปัญหาได้โดยวิธีใด

1. ใช้นโยบายการใช้จ่ายแบบงบประมาณสมดุล

2. เพิ่มการใช้จ่ายในรูปเงินโอนให้มากขึ้น

3. ลดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

4. ลดการใช้จ่ายของรัฐบาล

37. ข้อใดไม่ใช่มาตรการแก้ปัญหาเงินเฟ้อ

1. การเพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วสัญญาใช้เงิน

2. การเพิ่มอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย

3. การเพิ่มอัตราดอกเบี้ยของธนาคาร

4. การเพิ่มปริมาณการซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาล

38. เพราะเหตุใดการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกจึงส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของไทย

1. ประเทศไทยมีหนี้ต่างประเทศสูง

2. ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจ แบบเปิด

3. ประเทศไทยมีการสนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศ

4. ประเทศไทยมีการอนุญาตให้ชาวต่างประเทศเข้ามาลงทุนในประเทศไทย

39. ข้อใดแสดงว่าระบบเศรษฐกิจเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดมากที่สุด

1. มูลค่าการส่งออกบวกกับมูลค่าการนำเข้าเป็นสัดส่วนที่สูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ประชาชาติ

2. มูลค่าการส่งออกลบด้วยมูลค่าการลงทุนจากต่างประเทศเป็นสัดส่วนที่สูง เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ประชาชาติ

3. มูลค่าการลงทุนจากต่างประเทศบวกกับมูลค่านำเข้าเป็นสัดส่วนที่สูงเมื่อเทียบกับ ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ

4. มูลค่าการนำเข้าบวกกับมูลค่าการกู้ยืมเป็นสัดส่วนที่สูงเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ประชาชาติ

40. การที่ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยระบบเศรษฐกิจเปิดมากขึ้นทำให้เกิดผลหลายประการยกเว้นข้อใด

1. ราคาสินค้าหลายชนิดในประเทศถูกกำหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาดภายในและภายนอกประเทศ

2. ต้นทุนการผลิตสินค้าในประเทศส่วนหนึ่งจะขึ้นอยู่กับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ

3. รายได้ประชาชาติของไทยจะผันผวนตามภาวะเศรษฐกิจโลก

4. แรงงานไทยสามารถทำงานภายในประเทศหรือต่างประเทศได้อย่างเสรี

41. การค้าระหว่างประเทศยุ่งยากมากกว่าการค้าภายในประเทศเพราะอะไร

1. ทรัพยากรธรรมชาติแตกต่างกันระหว่างประเทศ

2 พ่อค้าในประเทศไม่ทราบความต้องการในตลาดต่างประเทศดีเท่ากับตลาดในประเทศ

3. การค้าภายในประเทศใช้เงินตราสกุลเดียวแต่การค้าระหว่างประเทศใช้เงินตราต่างสกุล

4. มีความแตกต่างกันในรสนิยมของผู้บริโภคสินค้าภายในประเทศน้อยกว่าผู้ผลิตสินค้าในประเทศ

42. สาเหตุข้อใดภาวะเศรษฐกิจไทยสัมพันธ์กับภาวะเศรษฐกิจโลกเป็นอย่างมาก

1. เงินลงทุนในประเทศส่วนใหญ่เป็นเงินลงทุนของชาวต่างชาติ

2. ประเทศไทยเป็นสมาชิกของแกตต์ซึ่งส่งเสริมระบบการเสรี

3. ประเทศไทยเป็นศูนย์การกลางทางการค้าเเลกการเงินของภูมิภาค อินโดจีน

4. มูลค่าการค้าต่างประเทศในผลิตภัณฑ์ประชาชาติคิดเป็นสัดส่วนค่อนข้างสูง

43. ข้อใดชี้ให้เห็นว่าเศรษฐกิจไทยมีความสัมพันธ์กับเศรษฐกิจโลกมากขึ้น

1. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศมีแนวโน้มสูง ขึ้น

2. มีการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศมากขึ้น

3. มูลค่าของการค้าต่างประเทศต่อผลิตภัณฑ์ประชาชาติมีสัดส่วนที่สูงขึ้น

4. การซื้อขายหุ้นของชาวต่างประเทศในตลาดหลักทรัพย์ของไทยมีมูลค่าสูงขึ้น

44. ข้อใดเป็นมาตรการของนโยบายการค้าเสรี

1. เก็บภาษีศุลกากรในอัตราต่ำ

2. ควบคุมปริมาณสินค้า ที่นำเข้าและส่งออก

3. ให้เงินอุดหนุนการค้าออกบางชนิด

4. กำหนดมาตรฐานคุณภาพค้าขั้นต่ำสำหรับสินค้านำเข้า

45. ข้อใดถือว่าเป็นของนโยบายการค้าเสรี

1. เก็บภาษีขาเข้าในอัตราต่ำ

2. ให้เงินอุดหนุนผู้ผลิตในประเทศ

3. ไม่เก็บภาษีสินค้า ที่ส่งไปขายประเทศยากจน

4. ให้นำเข้าสินค้าจาก ประเทศต่างๆได้ทุกชนิด

46. ข้อใดเป็นมาตรการทางเศรษฐกิจที่มีเป้าหมายแตกต่างจากข้ออื่นๆ

1. การให้เอกชนผลิตสินค้าตามกลไกของตลาด

2. การกำหนดโควตานำเข้า

3. การควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

4. การตั้งกำแพงภาษี

47. มาตรการใดต่อไปนี้ที่ไม่ใช่มาตรการนโยบายการค้าแบบคุ้มกัน

1. การลดค่าขนส่งสำหรับสินค้าส่งออก

2. การเก็บภาษีนำเข้าแต่เพียงเล็กน้อย

3. การกำหนดโควตาการนำเข้าและส่งออก

4. การให้การอุดหนุนช่วยเหลือกับเกษตรกร

48. ข้อใดไม่ใช่มาตรการที่รัฐบาลกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคุ้มกันหรือส่งเสริมสินค้าที่ผลิตขึ้นภายในประเทศ

1. การให้อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเป็นแบบลอยตัว

2. การจัดเก็บภาษีจากสินค้านำเข้าในอัตราสูง

3. การจำกัดโควต้าสินค้านำเข้า

4. การให้เงินอุดหนุนแก่สินค้าส่งออก

49. การกระทำใดต่อไปนี้เป็นการกีดกันทางการค้า

1. ตลาดร่วมยุโรปมาตรการตรวจสอบสินค้าจากไทย

2. ญี่ปุ่นลด มาตรฐานคุณภาพสินค้าเกษตรที่นำเข้าจากไทย

3. สหรัฐอเมริกาลดโควต้านำเข้าอาหารกระป๋องจากไทย

4. สาธารณรัฐประชาชนจีนลดภาษีนำเข้าอุปกรณ์ทางเกษตรจากไทย

50. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์จากการดำเนินนโยบายการค้าเสรีต่อประเทศที่ทำการค้าระหว่างประเทศ

1. การจัดสรรทรัพยากรประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

2. เกิดความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยี

3. ประชาชนของมีโอกาสได้บริโภคสินค้ามากขึ้น

4. ตลาดกว้างขึ้นเปิดโอกาสให้ผลิตสินค้าได้หลากหลายชนิดขึ้น

51. ข้อใดคือประโยชน์ของการ ทำการค้าระหว่างประเทศตามนโยบายการค้าเสรี

1. เศรษฐกิจของประเทศต่างๆที่ทำการค้ากันจะมีเสถียรภาพมากขึ้น

2. แต่ละประเทศที่ทำการค้ากันจะไม่ประสบปัญหาการว่างงาน

3. ก่อให้เกิดการกระจายผลไปยังประเทศที่ทำการค้ากันอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน

4. สินค้าที่แต่ละประเทศส่งออกเป็นสินค้าที่ประเทศที่มีความชำนาญในการผลิตและมีต้นทุนต่ำ

52. ข้อใดเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้หลายประเทศใช้นโยบายการค้าคุ้มกัน

1. สินค้าเข้ามีมูลค่าสูงกว่าสินค้าออกมาก

2. ตลาดสินค้าออกขยายอัตราต่ำ

3. ผู้ผลิตต่างประเทศค้าขายเอาเปรียบผู้ผลิตในประเทศ

4. รัฐบาลต้องการเพิ่มหลักการเก็บภาษีสินค้าเข้า

53. นโยบายทำให้ประเทศมีศักยภาพและความได้เปรียบในการแข่งขันด้านการค้าระหว่างประเทศได้มากที่สุด

1. การใช้นโยบายคุ้มกันการผลิต

2. การระดมเงินออมเพื่อการลงทุน

3. การชำระหนี้ต่างประเทศก่อนกำหนด

4. การพัฒนาทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ

54. การใช้นโยบายระหว่างประเทศแบบคุ้มกันเหมาะสำหรับเศรษฐกิจของประเทศที่อยู่ในสภาวะใด

1. เสียเปรียบในการผลิต

2. เท่าเทียมกันใน ด้านประสิทธิภาพในการผลิต

3. ได้เปรียบในการผลิต

4. ต้องการเพิ่มการผลิตเพื่อส่งออก

55. วิธีการใดส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด

1. เข้าเป็นสมาชิกองค์การค้าโลก

2. ร่วมกันจัดตั้ง เขตการค้าเสรี

3. ยกเลิกโควต้าสินค้าออกและสินค้าเข้า

4. ลดมาตรฐานคุณภาพสินค้าเข้าและสินค้าออก

56. ตั้งแต่ปี 2530 ถึงปัจจุบันไทยนำเข้าสินค้าใดเป็นสัดส่วนที่ค่อนข้างสูงในสินค้านำเข้าทั้งหมดเพราะเหตุใด

1. น้ำมันเชื้อเพลิง เพราะรัฐยกเลิกการกำหนดราคาน้ำมันในประเทศ

2. สินค้าอุปโภค บริโภคเพราะคนไทยมีรายได้เฉลี่ยสูงขึ้น

3. สินค้าวัตถุดิบเพราะประเทศประสบปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ

4. สินค้าทุนเพราะการลงทุนในประเทศขยายตัวค่อนข้างสูง

57. ประเทศที่กำลังพัฒนามักขาดดุลในการค้าทั้งนี้เป็นเพราะสาเหตุสำคัญที่สุดตามข้อใด

1. มีความต้องการบริโภคสินค้าและบริการมาก

2. มีการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรมาก

3. มีความต้องการสินค้าที่ผลิตภายในประเทศมาก

4. มีความต้องการค้าทุนมาก

58. ตลอดระยะเวลาสิบปีที่ผ่านมาปรากฏว่าไทยขาดดุลการค้ามาตลอดหมายความว่าอย่างไร

1. ประเทศไทยส่งสินค้าไปขายต่างประเทศมีมูลค่าน้อยสินค้าที่ส่งเข้าจากต่างประเทศ

2. ประเทศไทยส่งสินค้าไปขายต่างประเทศมีมูลค่ามากกว่าสินค้าที่ส่งเข้ามาจากต่างประเทศ

3. ประเทศไทยส่งคนในการผลิตสินค้า ในต่างประเทศมากกว่าชาวต่างประเทศที่นำเงินมาลงทุนการผลิตสินค้าในประเทศไทย

4. ประเทศไทยส่งคนไปลงทุนในการผลิตสินค้าในต่างประเทศน้อยกว่าชาวต่างประเทศที่นำเงินมาลงทุนการผลิตในประเทศไทย

59. การที่ประเทศกำลังส่วนใหญ่มีดุลการค้าขาดทุน อาจอธิบายได้ว่ามาจากสาเหตุใดต่อไปนี้

1. ประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่ส่งออกสินค้าเกษตรซึ่งมีราคาต่ำ

2. ราคาสินค้าทุนเทคโนโลยีการผลิตมีราคาสูงขณะที่ราคาสินค้าเกษตรส่งออกมีราคาต่ำ

3. ประเทศกำลังพัฒนามีความต้องการซื้อทุนและเทคโนโลยีการผลิตเป็นจำนวนมาก

4.ของสินค้าทุนและเทคโนโลยีการผลิตที่ประเทศกำลังพัฒนานำเข้าสูงกว่ามูลค่าสินค้าเกษตรที่ส่งออก

60. ที่ใดจะพยายามเพิ่มประมาณการส่งสินค้าออกไปขายต่างประเทศให้มาก แต่ก็ยังประสบปัญหาการขาดดุลการค้าเป็นประจำเพราะเหตุใดข้อใด

1. ปริมาณผลผลิต และราคาสินค้าส่งออกไม่แน่นอน

2. ต่างประเทศ กีดกัน สินค้า ที่ผลิตจากไทย

3. สินค้าออกเป็นสินค้าเกษตรกรรมที่ไม่ผ่านการแปรรูป

4. การผลิตสินค้าออกต้องพึ่งพาวัตถุดิบและเทคโนโลยีจากต่างประเทศ

61. ข้อใดเป็นเครื่องมือรัฐบาลในการดำเนินนโยบายการค้าแบบคุ้มกัน

1. การลดกำแพงภาษี สินค้านำเข้า เข้าจากต่างประเทศ

2. การจัดงบประมาณ สนับสนุน ภาคการเกษตรในประเทศไทย

3. การยกเลิกมาตรการสินค้าบางชนิดจากประเทศคู่ค้า

4. การให้สิทธิ์การนำเข้าสินค้า กับกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา

62. สินค้าส่งออกที่ไปให้กับประเทศไทยมากที่สุดในปัจจุบันคือข้อใด

1. ข้าว ข้าวโพด ยางพารา น้ำตาล

2. ข้าว มันสําปะหลังอาหารแช่แข็ง พริกไทย

3. ผ้าไหมอาหารกระป๋อง ข้าว ข้าวโพด

4. คอมพิวเตอร์ แผงวงจรไฟฟ้า สิ่งทอ อัญมณี

63. ข้อใดเป็นรายการที่แสดงอยู่ในบัญชีเดินสะพัด

1. ดุลการค้า ดุลบริจาค ดุลการชำระเงิน

2. ดุลบริจาค ดุลบริการดุลการค้า

3. ดุลการชำระเงิน ดุลบริการ ดุลเงินทุน

4. ดุลการค้า ดุลเงินทุน ดุลบริจาค

64. การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดในแผนพัฒนาฉบับที่ 4 หมายถึงขาดดุลอะไร

1. ดุลบัญชีสินค้าและบริการ

2. ดุลบัญชีสินค้า บริการ และบริจาค

3. ดุลบัญชีสินค้าบริการและบัญชีทุน

4. ดุลบัญชีสินค้า บริการ บริจาคและบัญชีทุน

65. บัญชีใดไม่รวมอยู่ในบัญชีเดินสะพัด

1. บัญชีสินค้า

2. บัญชีเงินทุน

3. บัญชีบริการ

4. บัญชีบริจาค

66. บัญชีเดินสะพัดในบัญชีดุลการชำระเงินระหว่างประเทศแสดงถึงอะไร

1. การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ

2. มูลค่าสินค้าส่งออกและสินค้านำเข้า

3. มูลค่าการบริการที่ให้หรือรับจากต่างประเทศ

4. การเคลื่อนย้ายสินทรัพย์ทางการเงิน

67. นายวิทย์ซื้อกระเป๋าถือสตรีจากพ่อค้าในประเทศอิตาลีเป็นมูลค่า 1 ล้านบาทเพื่อนำมาขายในประเทศราคาดังกล่าวต้องบันทึกในบัญชีใดของดุลการค้า

1. บัญชีการเงิน

2. บัญชีรายได้

3. บัญชีเงินโอน

4. บัญชีเดินสะพัด

68. ธุรกิจบริการที่ทำรายได้ให้กับประเทศในบัญชีเดินสะพัดคือธุรกิจใด

1. การท่องเที่ยว

2. การขนส่งทางอากาศ

3. การค้าส่งและค้าปลีก

4. การธนาคารและการประกันภัย

69. การที่รัฐบาลรณรงค์ให้คนไทยประหยัดน้ำมันใช้ของไทยและเที่ยวเมืองไทยจะก่อให้เกิดผลดีต่อดุลใดในดุลการชำระเงิน

1. ดุลบริการ

2. ดุลการค้า

3. ดุลบัญชีทุน

4. ดุลบัญชีเดินสะพัด

70. การที่ประเทศมีดุลการชำระเงินขาดดุลจะทำให้เกิดผลอย่างไร

1. การลงทุนต่างประเทศลดลง

2. ทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง

3. ดุลการค้าขึ้น ขาดดุลเพิ่มขึ้น

4. ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลเพิ่มขึ้น

71. ทุนสำรองระหว่างประเทศของไทยลดลงแสดงถึงอะไร

1. การขาดดุลการชำระเงิน

2. การขาดดุลงบประมาณ

3. การขาดดุลการค้า

4. การขาดดุลบริการ

72. รายการที่แสดงการเคลื่อนไหวของทุนสำรองระหว่างประเทศจะปรากฏอยู่ในข้อใด

1. ดุลการค้า

2. ดุลบัญชีทุน

3. ดุลการชำระเงิน

4. ดุลบัญชีเดินสะพัด

73. ยอดดุลการชําระเงิน สามารถดูได้จาก ดุลบัญชีใด

1. บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ

2. บัญชีเดินสะพัด

3. บัญชีทุนเคลื่อนย้าย

4. บัญชีเงินโอน

74. วิธีการคิดดุลการชำระเงิน ไม่รวมบัญชีใด

1. บัญชีสินค้าเข้าสินค้าออก

2. บัญชีเดินสะพัด

3. บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ

4. บัญชีเงินบริจาค

75. ในปี 2520 ไทยส่งซิกมีมูลค่า 150,000 ล้านบาท สั่งสินค้าใน ประเทศ มีมูลค่า 2,000,000 ล้านบาทการค้าของไทยเป็นอย่างไร

1. ประเทศไทยทำ การค้าขาดดุล 50,000 ล้านบาท

2. ดุลการค้าของไทยขาดดุล 50,000 ล้านบาท

3. ดุลการชำระเงินของ ไทยขาดดุล 50,000 ล้านบาท

4. เงินทุนเคลื่อนย้าย ลดลง 5,000 ล้านบาท

76. ในรอบระยะเวลาหนึ่งสมมุติว่ามูลค่าสินค้าเท่ากับ 8,000 ล้านบาทมูลค่าสินค้าออกเท่ากับ 7,000 ล้านบาทดุลบริการเกินดุล 3,000 ล้านบาทข้อใดถูกต้อง

1. ดุลการชำระเงินขาดทุน 1,000 ล้านบาท

2. ดุลการค้าเกินดุล 2,000 ล้านบาท

3. ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล 2,000 ล้านบาท

4. ดุลบัญชีทุนเกินดุล 2,000 ล้านบาท

77. ถ้าในปีที่แล้วดุลการชำระเงินของประเทศไทยขาดดุล 2,500 ล้านบาท จะทำให้เกิดผลตามข้อใด

1. ประเทศไทยต้องลดการนำเข้าสินค้าเป็นมูลค่า 2,500 ล้านบาท

2. ทุนสำรองระหว่างประเทศประเทศไทยจะต้องลดลง 2,500 ล้านบาท

3. รัฐบาลไทยจะต้องยืมเงินต่างประเทศลงเป็นมูลค่า 2,500 ล้านบาท

4. รัฐบาลไทย จะต้องลดงบประมาณรายจ่ายประจำปีลงเป็นมูลค่า 2,500 ล้านบาท

78. ในปีที่ผ่านมาดุลการชำระเงินของประเทศไทยขาดดุล 38,000 ล้านบาทหมายความว่าอย่างไร

1. รัฐบาลไทย จะต้องเป็นหนี้ต่างประเทศ เพิ่มขึ้น 38,000 พันล้านบาท

2. ประเทศไทยมีทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง 38,000 ล้านบาท

3. ประเทศไทยมีมูลค่าสินค้าออกน้อยกว่ามูลค่าสินค้าเข้า 38,000 ล้านบาท

4. คนไทยมียอดรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการสูงกว่ายอดรายได้ 38,000 ล้านบาท

79. การที่ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศขาดดุลแสดงว่าอย่างไร

1. ดุลการค้าระหว่างประเทศต้องขาดทุนเสมอ

2. จะมีผลหรือมีการลดลงในเงินสำรองระหว่างประเทศ

3. ภาวะเศรษฐกิจของประเทศขึ้นโดยตรงกับการค้าระหว่างประเทศ

4. มีการลงทุนในมากกว่าที่ต่างประเทศมาลงทุนในประเทศ

80. คำกล่าวที่ว่าบัญชีเดินสะพัดของประเทศไทยขาดดุลมีความหมายอย่างไร

1. รายได้จากการทรงต่ำกว่ารายจ่ายในการนำเข้า

2. รายรับเงินต่างประเทศต่ำกว่ารายจ่ายเงินตราต่างประเทศ

3. รายรับจากการส่งออกและการลงทุนในต่างประเทศต่ำกว่ารายจ่ายในการนำเข้าและคืนเงินทุนให้ต่างประเทศ

4. รายได้จากการขายและบริการให้ต่างประเทศต่ำกว่ารายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศ

ตัวอย่างปลายภาค รอบสุดท้าย

  1. ความหมายโดยทั่วไปของกฎหมายคืออะไร 1. ข้อบังคับของรัฐ 2. บรรทัดฐานในสังคม 3. จารีตประเพณี 4. บรรทัดฐานที่ศาลใช้ในการตัดสินคด...