วิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนหรือวิธีการที่นักประวัติศาสตร์ใช้เพื่อศึกษา ค้นคว้า และเรียบเรียงเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์จากหลักฐานที่มีเพื่อให้มีความถูกต้อง ชัดเจนมากที่สุด
ความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์
การเลือกใช้หลักฐาน
ความน่าเชื่อถือ
ความถูกต้อง
ผู้ศึกษา
เป็นกลาง
ไม่นำปัจจุบันไปประเมินอดีต
วิธีการ
ไม่สามารถใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ได้(เกิดครั้งเดียวทดลองซ้ำไม่ได้)
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
1. ตั้งประเด็นที่จะศึกษา
2. รวบรวมข้อมูลหลักฐาน
3. วิเคราะห์และประเมินคุณค่าของหลักฐาน
4. เลือกสรรและจัดความสัมพันธ์ของข้อมูล
5. สังเคราะห์ข้อมูล
1. การตั้งประเด็นที่จะศึกษา(กำหนดหัวข้อ)
ใคร เรื่องราวของใคร เกี่ยวข้องกับใคร
อะไร สิ่งที่เกิดขึ้นคืออะไร
ที่ไหน เหตุการณ์นั้นๆเกิดขึ้นที่ไหน
เมื่อไหร่ เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นเมื่อไหร่
ทำไม ทำไมจึงเกิดขึ้น
อย่างไร ส่งผลอย่างไรกับปัจจุบัน
2. รวบรวมข้อมูลหลักฐาน
ควรศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรงก่อน(หนังสืออ้างอิง บุคคล) เพื่อทำความเข้าใจพื้นฐานเรื่องที่เราต้องการศึกษา
จากนั้นจึงหาข้อมูลจากหลักฐานขั้นต้น เพื่อให้ได้ถึงรายละเอียดของเรื่องราวที่เราต้องการศึกษาโดยตรง
3. วิเคราะห์และประเมินคุณค่าของหลักฐาน(ตรวจสอบ)
การวิเคราะห์หลักฐานภายนอก
ตรวจสอบสภาพปรากฏว่าถูกต้องหรือไม่
การวิเคราะห์หลักฐานภายใน
ตรวจสอบเนื้อหาภายในว่าเชื่อถือได้หรือไม่
4. การเลือกสรรและจัดความสัมพันธ์ของข้อมูล(ตีความ)
การตีความขั้นต้น(แนวราบ)
ตามตัวอักษรหรือตามรูปลักษณ์ภายนอก
การตีความขั้นลึก(แนวดิ่ง)
ความหมายที่ซ่อนอยู่ภายใน
หลังจากนั้นต้องแยกประเภท จัดความสัมพันธ์ จัดลำดับก่อนหลัง
5. สังเคราะห์ข้อมูล(เรียบเรียง นำเสนอ)
การนำข้อมูลที่ผ่านกระบวนการในขั้นตอนที่ 2 3 4 มาทำให้เกิดข้อมูลใหม่เพื่อตอบปัญหาข้อแรก
9 ความคิดเห็น:
ครูค่ะ อาทิตย์หย้า ติวใช่ไหมค่ะ
ใช้อ่ะป่ะ
เนย1/5อ่ะป่ะ?
ติวว........ข้อสอบ(เฉลยข้อสอบเลยก็ได้)
.
ออกข้อสอบหมดเรยป่ะคะ
ครูเจตไปไหนอ่ะTT
ครูครับขอเฟสหน่อยครับจากยาวครับ
เยอะจัง
แสดงความคิดเห็น