วันจันทร์, มิถุนายน 11, 2555

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2 (ม.3)

สภาพบังคับของกฎหมาย
สภาพบังคับทางอาญา
ประหารชีวิต
จำคุก
กักขัง
ปรับ
ริบทรัพย์สิน
สภาพบังคับทางแพ่ง
โมฆะกรรม
โมฆียกรรม
การบังคับให้ชำระหนี้
การให้ชดใช้ค่าเสียหาย
ฯลฯ
เกณฑ์การแบ่งประเภทของกฎหมาย
แบ่งตามเนื้อหา
กฎหมายลายลักษณ์อักษร
กฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
แบ่งตามสภาพบังคับ
กฎหมายอาญา
กฎหมายแพ่ง
แบ่งตามลักษณะการใช้
กฎหมายสารบัญญัติ
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
แบ่งตามนิติสัมพันธ์
กฎหมายมหาชน
กฎหมายเอกชน



ประเภทของกฎหมาย (แบ่งตามนิติสัมพันธ์)



กฎหมายเอกชน (Private Law)
กฎหมายมหาชน (Public Law)
เป็นกฎหมายที่กำหนดถึงความสัมพันธ์และสิทธิประโยชน์ระหว่างเอกชนต่อเอกชนด้วยกัน ในฐานะที่เท่าเทียมกัน และรัฐทำหน้าที่เป็นเพียงผู้รักษากติกาให้เป็นไปตามนิติสัมพันธ์ระหว่างเอกชนนั้น เช่น ประมวลกฎหมายแพ่ง
เป็นกฎหมายที่กำหนดสถานะ อำนาจของความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐ หรือระหว่างรัฐหรือหน่วยงานของรัฐกับเอกชน หรือองค์กรมหาชนอื่น เป็นสถานะที่รัฐมีอำนาจหรือฐานะเหนือกว่าเอกชน เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง





Common law
Civil law
ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
จารีตประเพณี & คำพิพากษาศาล
ถือเอา คำพิพากษาเป็นใหญ่
คือว่า ศาลสำคัญที่สุด
คำพิพากษาของศาล: บรรทัดฐาน
เป็นการพิจารณาจากเรื่องเฉพาะไปสู่หลักเกณฑ์ทั่วไป
อังกฤษและเครือจักรภพ
เป็นลายลักษณ์อักษร
เกิดมาจากกฎหมายโรมัน
คำพิพากษาเป็นการตีความ
ถือว่า ตัวบทสำคัญที่สุด

พิจารณาจากหลักเกณฑ์ทั่วไปมาสู่เรื่องเฉพาะเรื่อง
ฝรั่งเศส เยอรมันนี อิตาลี ไทย ญี่ปุ่น








ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น