1. ถ้าใช้เกณฑ์การแบ่งเขตภูมิอากาศตามแบบเคิพเพินเป็นลักษณะภูมิอากาศแบบใดที่พบในพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศไทย
1. อากาศชื้นอุณหภูมิปานกลางฝนตกในฤดูหนาวแห้งแล้งในฤดูร้อน
2. อากาศชื้นฝน อุณหภูมิสูงตลอดปีไม่มีฤดูแล้ง
3. พืชพรรณเป็นป่าดงดิบดูดอากาศชื้นฝนตกชุกกับมรสุมอุณหภูมิสูงมีฝน
พืชพรรณเป็นป่าดงดิบ
4. อากาศจึงสลับแล้วฝนตกปานกลางมีฤดูฝนและฤดูแล้งชัดเจนพืชพรรณเป็นทุ่งหญ้าและป่าโปร่ง
2. พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศไทยมีลักษณะภูมิอากาศเหมือนกัน ยกเว้นบางส่วนของภาคใดที่มีลักษณะภูมิอากาศแบบอื่นผสมผสานกันอยู่ด้วย
1. ภาคตะวันออกและภาคใต้
2. ภาคเหนือและภาคใต้
3. ภาคเหนือและภาคตะวันออก
4. ภาคตะวันตกและภาคตะวันออก
3. ภาคใดที่มีภูมิอากาศแตกต่างจากภาคอื่นมากที่สุด
1. ภาคใต้
2. ภาคเหนือ
3. ภาคกลาง
4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4.
ภูมิภาคใดของประเทศไทยมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนาครอบคลุมพื้นที่น้อยที่สุด
1. เหนือ
2. ตะวันออก
3. ตะวันออกเฉียงใต้
4. ตะวันตก
5. จังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราดมีลักษณะภูมิอากาศอย่างไร
1. อุณหภูมิฤดูร้อนค่อนข้างสูง พืชผลัดใบก่อนฤดูร้อน
2. สภาพอากาศค่อนข้างร้อนมีลมทะเลตลอดปี
3. บางเดือนมีฝนน้อยกว่า60 มม.พืชเมืองร้อนไม่ผลัดใบ
4. ฝนตกในฤดูร้อนฤดูหนาวแห้งแล้ง
6. ข้อใดคือปัจจัยที่ทำไห้ลักษณะภูมิอากาศของประเทศไทยผันแปรน้อย
1. พายุหมุดจากทะเลจีนใต้
2. ลมค้าตะวันออกเฉียงเหนือ
3. ที่ตั่งซึ่งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร
4. ลมมรสุมฤดูร้อนและฤดูหนาว
7. ข้อใดเป็นปัจจัยควบคุมที่ทำไห้เกิดภูมิอากาศแบบต่างๆ
1. ทิศทางลมประจำ ระยะห่างจากแม่น้ำ ความสูงของพื้นที่
2. ทิศทางลมประจำ
ละติจูดของพื้นที่ กระเเสน้ำในมหาสมุทร
3. ละติจูดของพื้นที่ ระยะห่างจากแม่น้ำ กระเเสน้ำในมหาสมุทร
4. ละติจูดของพื้นที่ ทิศทางลมประจำ การกระทำของมนุษย์
8. ข้อความใดไม่มีปัจจัยควบคุมภูมิอากาศ
1. กรุงเทพอยู่ที่ละติจูด 14 องศาเหนือ
2. อุบลราชธานีอยู่ริมฝั่งแม่น้ำมูล
3. เชียงรายอยู่สูงจากระดับน้ำทะเล 400
เมตร
4. หัวหินอยู่ริมฝั่งทะเล
9. ลมมรสุมซึ่งทำให้ฝนตกในบางส่วนของภาคใต้ของประเทศระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์เรียกว่าอะไร
1. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้
2. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
3. ลมมรสุมตะวันออกตะวันตกเฉียงใต้
4. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ
10. เมื่อประเทศไทยได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะเกิดปรากฏการณ์ใด
1. ภาคตะวันออกเกิดหย่อมความกดอากาศต่ำ
2. ภาคใต้ฝั่งตะวันออกท้องฟ้ามีเมฆมากฝนตกตามชายฝั่งทะเล
3. ภาคตะวันตกมีความกดอากาศสูงอุณหภูมิลดลง
4. ภาคเหนือมีฝนตกจากพายุดีเปรสชั่น
11. อิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมีผลอย่างไร
1. ภาคตะวันออกและภาคใต้ฝั่งตะวันตกมีฝน
2. ภาคตะวันออกและภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีฝน
3. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหนาวเย็นและภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีฝน
4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหนาวเย็นและภาคใต้ฝั่งตะวันตกมีฝน
12. อิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมีผลกระทบในข้อใด
1. ภาคตะวันออกเฉียงเหนืออากาศหนาวจัดเกิดน้ำค้างแข็งพืชผลเสียหาย
2. ภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีฝนตกชุกเป็นฤดูนักท่องเที่ยวน้อย
3. ภาคเหนืออากาศเย็นสบายท้องฟ้าโปร่ง
4. ภาคตะวันออกอากาศแล้งไม้ผลขาดน้ำ
13. ภูมิอากาศภาคใต้มีลักษณะอย่างไร
1. ภูมิอากาศเป็นแบบเขตมรสุมร้อนทั้งภูมิภาค
2. ชายฝั่งด้านตะวันออกแห้งแล้งกว่าชายฝั่งด้านตะวันตก
3. ชายฝั่งด้านตะวันตกฝนชุกกว่าชายฝั่งด้านตะวันออก
4. ตอนล่างมีภูมิอากาศแบบ มรสุมเขตร้อน
14. ข้อใดถูกต้อง
1. จังหวัดระนองพังงาภูเก็ตได้รับลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงกันยายน
2. จังหวัดตราดเป็นจังหวัดที่มีฝนมากที่สุด
ในภาคตะวันออกปีละ 3000 มิลลิเมตร
3. พายุดีเปรสชัน จัดเป็นพายุหมุนเขตร้อนอย่างหนึ่ง
ที่มีความเร็วลมต่ำกว่า 81 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
4. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
ทำให้ภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีฝนตกชุก ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม
15. เหตุใดแอ่งสกลนครจึงเป็น พื้นที่ที่มีฝนชุกกว่าพื้นที่
ส่วนอื่นของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
1. เป็นพื้นที่ที่ติดแม่น้ำโขง
ซึ่งเป็นแหล่งความชื้น ทำให้มีฝนจากการยกตัวของอากาศ
2. เป็นพื้นที่ที่อยู่ในเขตร่องมรสุม
ที่เป็นทางผ่านของพายุหมุนจากอ่าวตังเกี่ย
3. เป็นพื้นที่ต้านรับลมของเทือกเขาภูพาน
ที่ได้รับความชื้นจากทะเลจีนใต้
4. เป็นเป็นพื้นที่ที่ต้านรับลมมรสุม
ฤดูหนาวที่พัดพาความชื้นจาดอ่าวตังเกี๋ย
16. มวลอากาศใดมีอิทธิพลต่อ สภาพอากาศของประเทศไทยในช่วง หรือดูร้อนมากที่สุด
1. มวลอากาศร้อนภาคพื้นทวีป
จากตอนกลางของประเทศอินเดีย
2. มวลอากาศ ร้อนภาคพื้นทวีปของทะเลทรายโกบี
3. มวลอากาศร้อนภาคพื้นสมุทรจากมหาสมุทรอินเดีย
4. มวลอากาศร้อนภาคพื้นสมุทรเขตศูนย์สูตร
17. ปัจจัยใดที่ทำให้ฝนตกชุกในประเทศไทย
1. ร่องมรสุม
2. พายุหมุนจากทะเลจีนใต้
3. ที่ตั้งของไทยอยู่ในเขตร้อน
4. มวลอากาศร้อนภาคพื้นสมุทร
18. ในช่วงต้นฤดูฝนมักจะเกิดพายุรุนแรง
สร้างความเสียหายเป็นหย่อมๆเพราะเหตุใด
1. การปะทะกันของมวลอากาศรุนแรง
2. เกิดพายุหมุนขนาดเล็กเป็นพื้นที่แคบๆ
3. พื้นดินมีอุณหภูมิสูงและได้รับความชื้นมาก
4. ความกดอากาศเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
19. มวลอากาศร้อนชื้นจากอ่าวไทยและทะเลจีนใต้เคลื่อนที่ผ่านประเทศไทยปะทะอย่างรวดเร็วกับมวลอากาศเย็นและแห้งแล้งจากประเทศจีน
ลักษณะของอากาศที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร
1. อากาศแจ่มใสฝนตกเล็กน้อย
2. อากาศแปรปรวนมีฝนตกมาก
3. อากาศแจ่มใสท้องฟ้าโปร่ง
4. อากาศแปรปรวนมีเมฆเต็มท้องฟ้า
20. มวลอากาศร้อนชื้นจากทะเลจีนใต้เคลื่อนที่ผ่านประเทศไทยมาปะทะกับมวลอากาศเย็นและแห้งแล้งจากประเทศจีนอย่างรวดเร็วจะทำให้เกิดลักษณะอากาศอย่างไร
1. ท้องฟ้าแจ่มใส ลมพัดแรง
2. ท้องฟ้ามืด มีฝนตกเล็กน้อย
3. อากาศแปรปรวน มีฝนตกมาก
4. อากาศอบอ้าว ท้องฟ้ามืดครึ้มตลอดวัน
21.
สมมุติว่าการรื้อเขื่อนใหญ่ๆในภาคเหนือให้หมดจะมีผลกระทบที่สำคัญต่อภาคกลางอย่างไร
1. ทำนาปรังไม่ได้
2. การประมงในแม่น้ำทำไม่ได้
3. มีน้ำท่วมเป็นประจำ
4. ปริมาณไฟฟ้ามีไม่พอใช้
22.
ข้อใดเป็นลักษณะภูมิประเทศของภาคเหนือ
1. ที่ราบลุ่มแม่น้ำและที่ราบเก่ายุคพรีแคมเบรียน
2. ที่ราบดินตะกอนน้ำพากระจายอยู่ทั่วๆไป
3. ที่ราบลุ่มแม่น้ำเป็นดินเหนียวสลับที่ราบดินตะกอน
4. ที่ราบดินตะกอนน้ำพัดพาและมีทิวเขาสูงรอบชายขอบ
23.
อุณหภูมิในภาคตะวันตกโดยเฉพาะที่ทองผาภูมิจังหวัดกาญจนบุรีและอุ้มผางจังหวัดตาก
ระหว่างฤดูร้อนและฤดูหนาวแตกต่างกันมากเป็นเพราะเหตุใด
1. พื้นที่ส่วนใหญ่ยังเป็นป่าไม้
2. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาหุบเขา
3. พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ด้านอารมณ์
4. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นหินปูน
24.
ทำไมจังหวัดตากและจังหวัดกาญจนบุรีจึงมีอุณหภูมิสูงมากๆ
ทั้งๆที่สองจังหวัดมีภูเขาและอุทยานแห่งชาติ
1. ป่าไม้ส่วนใหญ่ทุกคนทำลาย
2. ตั้งอยู่ในเขตเงาฝน
3. ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบแคบๆสลับภูเขา
4. อยู่ห่างไกลจากทะเล
25.
ลักษณะเด่นของภาคตะวันตกในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้แก่อะไร
1. มีแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์มากกว่าภาคอื่น
2. มีเขื่อนเก็บน้ำขนาดใหญ่อยู่มาก
3. มีป่าไม้อยู่มากกว่าภาคอื่น
4. มีผลิตผลทางการเกษตรสูง
26.
ทำไมภาคตะวันตกจึงมีเขื่อนเก็บกักน้ำขนาดใหญ่อยู่มากกว่าภาคอื่นๆ
1. เพื่อแก้ไขการขาดแคลนน้ำ
2. เพื่อป้องกันอุทกภัย
3. มีแหล่งน้ำตกขนาดใหญ่มาก
4. มีองค์ประกอบธรรมชาติเหมาะสม
27.
ศักยภาพทางเศรษฐกิจของภาคตะวันตกที่ปรากฏชัดเจนในขณะนี้ได้แก่อะไร
1. ป่าไม้
2. แร่ธาตุ
3. เกษตรอุตสาหกรรม
4. การท่องเที่ยว
28.
อัตราส่วนที่ใกล้เคียงที่สุดระหว่างความยาวชายฝั่งทะเลในทะเลใต้ตั้งแต่ชุมพรถึงนราธิวาสกับตั้งแต่ระนองถึงสตูลมีอย่างไร
1. 4 ต่อ 3
2. 5 ต่อ 4
3. 7 ต่อ 6
4. 9 ต่อ 8
29.
มวลอากาศร้อนชื้นจากทะเลจีนใต้เคลื่อนที่ผ่านประเทศไทยมาปะทะกับมวลอากาศเย็นและแห้งจากประเทศจีนอย่างรวดเร็วจะทำให้เกิดลักษณะอากาศอย่างไร
1. ท้องฟ้าแจ่มใส
ลมพัดแรง
2. ท้องฟ้ามืด
มีฝนตกเล็กน้อย
3. อากาศแปรปรวน มีฝนตกมาก
4. อากาศอบอ้าว
ท้องฟ้ามืดครึ้มตลอดวัน
30.
องค์ประกอบของภูมิอากาศข้อใดที่มีผลทำให้ปริมาณน้ำฝนในประเทศไทยมีมากกว่าปกติ
1. ความกดอากาศสูงจากประเทศจีน
2. พายุหมุนจากทะเลจีนใต้
3. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
4. ความชื้นจากอ่าวไทย
31.
ปลายฤดูฝนของประเทศไทยจะไม่แรงฝนด้วยเหตุใด
1. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือนำความเย็นและฝนโปรยมาสู่พื้นที่
2. ร่องความกดอากาศต่ำก่อให้เกิดฝนตกเป็นบริเวณกว้าง
3. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้นำฝนมาตกในพื้นที่
4. พายุหมุนจากทะเลจีนใต้พัดผ่าน
32.
พายุหมุนที่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยส่วนใหญ่จะมาจากทิศทางใด
1.
ทิศตะวันตกเฉียงใต้
2. ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
3.
ทิศเหนือ
4. ทิศตะวันออก
33.
ข้อใดคือประโยชน์ของการเรียกพายุหมุนเขตร้อนให้แตกต่างกันเป็นพายุดีเปรสชั่นพายุโซนร้อนหรือพายุไต้ฝุ่น
1. เพื่อให้ทราบแหล่งกำเนิดของพายุ
2. เพื่อใช้ในการตั้งชื่อพายุอย่างเหมาะสม
3. เพื่อให้ทราบทิศทางและการเคลื่อนที่ของพายุ
4. เพื่อให้ทราบกำลังความแรงและการป้องกัน
34.
เพราะเหตุใดภาคตะวันออกเฉียงเหนือจึงมีปริมาณน้ำฝนมากกว่าภาคกลางตอนบน
1. เพราะมีโอกาสได้รับผลจากพายุดีเปรสชั่น
2. เพราะได้รับผลทางมรสุมฤดูร้อนและมรสุมฤดูหนาว
3. เพราะได้รับผลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัดมาจากทะเลจีนใต้
4. เพราะปัจจัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือปลูกป่าและสวนยางพารามากขึ้นจึงทำให้มีปริมาณฝนสูงกว่าภาคกลางตอนบน
35.
เหตุใดจังหวัดนครพนมจึงได้รับปริมาณน้ำฝนมาก
1. ทำเลที่ตั้งอยู่ในเขตอิทธิพลของดีเปรสชั่น
2. เทือกเขาภูพานช่วยรับลมมรสุม
3. เป็นที่ราบสูง
ไอน้ำในอากาศกลั่นตัวได้สะดวก
4. ได้รับอิทธิพลมาจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
36.
เพราะเหตุใดพื้นที่ทางตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือจึงมีปริมาณน้ำฝนมากกว่าทางตะวันตกของภาค
1. มีระยะทางอยู่ใกล้ทะเลมากกว่า
2. ได้รับอิทธิพลจากพายุหมุนเขตร้อน
3. ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
4. มีเทือกเขาในประเทศลาวเป็นแนวปะทะลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
37.
จังหวัดนครพนมมีปริมาณน้ำฝนใกล้เคียงกับจังหวัดในภาคใต้เพราะสาเหตุข้อใด
1. ที่ตั้งอยู่บนแนวพายุโซนร้อน
2. ที่ตั้งอยู่ไม่ไกลจากทะเล
3. ที่ตั้งอยู่บนแนวฝนพาความร้อน
4. ที่ตั้งอยู่ด้านรับลม
38.
เหตุใดพายุไต้ฝุ่นจึงมีกำลังอ่อนลงเมื่อพัดเข้าสู่ประเทศไทย
1. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เคลื่อนตัวมาปะทะ
2. ทิวเขาในประเทศเวียดนามและลาวเป็นแนวปะทะ
3. ขณะที่พายุนี้เคลื่อนที่ได้มีฝนตกหนักเป็นบริเวณกว้าง
4. แหล่งกำเนิดอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งมีระยะห่างจากประเทศไทยมาก
39.
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับพายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศ
1. ไม่เคยก่อตัวในอ่าวไทย
2. หากก่อตัวในอ่าวเบงกอลจะมาไม่ถึงประเทศไทย
3. มีแหล่งกำเนิดในทะเลจีนใต้มากกว่าในทะเลอันดามัน
4. ที่ก่อตัวในอ่าวตังเกี๋ยจะส่งผลต่อสภาพอากาศในประเทศไทยมากที่สุด
40.
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับพายุแคทรีนาที่สร้างความเสียหายอย่างมากเมื่อเดือนกันยายน
พ.ศ. 2548
1. เป็นพายุไต้ฝุ่นที่ก่อตัวในจีนใต้
ขึ้นฝั่งใกล้กรุงฮานอย
2. เป็นพายุ
โซนร้อนที่ก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกขึ้นฝั่งในประเทศเม็กซิโก
3. เป็นพายุไซโคลนที่ก่อตัวในมหาสมุทรอินเดีย
ขึ้นฝั่งใกล้เมืองโกลกาตา
4. เป็นพายุเฮอร์ริเคนที่ก่อตัวในมหาสมุทรแอตแลนติก
ขึ้นฝั่งใกล้เมืองนิวออร์ลีนส์
41.
ร่องความกดอากาศต่ำหรือร่องมรสุมเกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ใดในประเทศไทยมากที่สุด
1. การเปลี่ยนอุณหภูมิตามอิทธิพลลมมรสุม
2. ชมฝนตกชุกในเดือนพฤษภาคมและเดือนกันยายน
3. ได้รับแสงอาทิตย์เข้มข้นในเดือนเมษายนและเดือนสิงหาคม
4. การเปลี่ยนแปลงทางเดินของพายุหมุนจากมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย
42.
ช่วงฝนชุกสองช่วงในประเทศไทยระหว่างเดือนพฤษภาคมและเดือนกันยายนเกิดจากอะไร
1. การเปลี่ยนทิศทางของลมมรสุม
2. การเคลื่อนที่ของร่องความกดอากาศต่ำ
3. การเคลื่อนที่ของแนวตั้งฉากของแสงอาทิตย์
4. การเคลื่อนที่ของพายุหมุนจากทะเลจีนใต้สลับกับทะเลอันดามัน
43.
ฝนชุกในภูมิภาคส่วนใหญ่ของประเทศไทยเกิดขึ้นในช่วงเวลาใด
1.
ช่วงที่ร่องมรสุมพัดผ่านประเทศเกิดจากแนวปะทะของมวลอากาศทั้งสองฝ่าย
2. ช่วงเปลี่ยนแปลงฤดูมรสุม
ลมเปลี่ยนทิศทางเกิดความแปรปรวนของอากาศ
3.
ช่วงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ลมพัดมาจากมหาสมุทรอินเดียและทะเลจีนใต้
4. ช่วงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
ลมพัดผ่านพื้นน้ำในอ่าวไทยเข้าสู่แผ่นดิน
44.
การที่ฝนตกหนักลมแรงบางครั้งมีฟ้าผ่าและลูกเห็บตกเกิดเป็นบริเวณแคบๆเป็นลักษณะของพายุฤดูฝนฤดูใด
1.
พายุดีเปรสชั่น-ต้นฤดูฝน
2. พายุโซนร้อน-ปลายฤดูฝน
3.
พายุฝนฟ้าคะนอง-ฤดูร้อน
4. พายุหมุนเขตร้อน-ช่วงเปลี่ยนฤดู
45.
เราจะไม่เห็นปรากฏการณ์ธรรมชาติในช่วงเกิดพายุฝนฟ้าคะนองข้อใด
1. ฝนตกเป็นบริเวณแคบ
2. ฝนตกเป็นระยะเวลาสั้นๆ
3. ลมแรง กรรโชก
4. ฟ้าผ่า และฟ้าแลบ
46.
เพราะเหตุใดลมตะเภาจึงพัดไปตามลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา
1. เนื่องจากมีศูนย์ความกดอากาศต่ำเกิดขึ้นในที่ราบภาคกลางความกดอากาศสูงเกิดขึ้นในอ่าวไทย
2. เนื่องจากมีสูงความกดอากาศสูงเกิดขึ้นในที่ราบภาคกลาง
3. แม่น้ำเจ้าพระยามีความกดอากาศต่ำตามแนวแม่น้ำยมจึงคัดตามแนวความกดอากาศต่ำนั้น
4. เป็นลมก่อนมรสุมฤดูร้อนที่พัดไปตามอิทธิพลของมรสุมฤดูร้อน
47.
ชาวกรุงเทพฯ
นิยมเล่นว่าวที่ท้องสนามหลวงระหว่างเดือนมีนาคมถึงเมษายนลมที่พัดอยู่ในช่วงเวลานี้คือลมอะไร
1. ลมข้าวเบา
2. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
3. ลมตะเภา
4. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
48.
ถ้าลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เปลี่ยนทิศทางมาเป็นลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้จังหวัดใดที่อยู่ด้านรับลม
1. เพชรบุรี
2. ฉะเชิงเทรา
3. ตรัง
4. บุรีรัมย์
49.
เมื่อลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เปลี่ยนทิศทางเป็นลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. นครศรีธรรมราชและสุราษฎร์ธานี
จะมีฝนตกมากขึ้น
2. เพชรบูรณ์และพิษณุโลก
จะมีฝนตกน้อยลง
3. ราชบุรีและเพชรบุรี
จะมีฝนตกมากขึ้น
4. ตากและสุโขทัย
จะมีฝนตกมากขึ้น
50.
ถ้าลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เป็นทิศทางการเป็นลมมรสุมตะวันออกลักษณะภูมิอากาศข้อใดที่ถูกต้อง
1. ประจวบคีรีขันธ์ จะมีฝนมากกว่าระนอง
2. จันทบุรี ตราด
ฝนตกมากขึ้น
3. กาญจนบุรี
เป็นเขตรับฝน
4. แม่สอด อำเภอแม่สอดอยู่ในจังหวัดตาก
51.
ท่าบริเวณประเทศเวียดนามและลาวยุบลงเป็นอ่าวตังเกี๋ยลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยจะเป็นอย่างไร
1. ไม่เปลี่ยนแปลง
เพราะได้รับอิทธิพลจากมรสุมฤดูหนาว
2. ไม่เปลี่ยนแปลง เพราะยังตั้งอยู่ในเขตร้อนเหมือนเดิม
3. เปลี่ยนแปลง เพราะภูมิอากาศคล้ายชายฝั่งจันทบุรีและตราด
4. เปลี่ยนแปลง เพราะภูมิอากาศคล้ายชายฝั่งตะวันออกของภาคใต้
52.
ถ้ามีนักท่องเที่ยวขอคำแนะนำด้านการท่องเที่ยวบริเวณชายฝั่งทะเลอันดามันท่านคิดว่าสมควรแนะนำให้ไปเที่ยวสถานที่ใดและในช่วงเวลาใดที่เหมาะสมที่สุด
1. ฝั่งอ่าวไทย
กันยายน-ธันวาคม
2. เกาะตะรุเตา
ตุลาคม-มกราคม
3. ฝั่งอ่าวไทย
ธันวาคม-กุมภาพันธ์
4. เกาะสิมิลัน
พฤษภาคม-กรกฎาคม
53.
ท่าทางจะเดินทางไปท่องเที่ยวหมู่เกาะสิมิลันในเขตทะเลอันดามันท่านควรจะเลือกช่วงเวลาใดจึงเหมาะสมที่สุด
1. พฤษภาคม-มิถุนายน
2. สิงหาคม-กันยายน
3. ตุลาคม-พฤศจิกายน
4. มีนาคม-เมษายน
54.
นางสาวมัลลิกาเตรียมตัวเดินทางไปพักผ่อนที่เรียนแห่งชาติเกาะตะรุเตาจังหวัดสตูล
ได้ทราบข้อมูลว่าสามารถไปได้เฉพาะในช่วงเวลาที่ไม่มีลมมรสุมท่านคิดว่าช่วงเวลาใดต่อไปนี้เหมาะสมที่สุด
1. มกราคม-พฤษภาคม
2. มีนาคม-กรกฎาคม
3. มิถุนายน-กันยายน
4. ตุลาคม-กุมภาพันธ์
55.
เหตุใดอุณหภูมิในรอบปีของภาคเหนือจึงแตกต่างกันมาก
1. อากาศโปร่งแจ่มใสพื้นดินคายความร้อนได้เร็ว
2. อิทธิพลจากมหาสมุทรเข้าถึงน้อย
3. ป่าไม้ส่วนมากเป็นป่าเบญจพรรณดูดซับความร้อนได้เร็ว
4. พื้นที่เป็นภูเขาสูงฤดูหนาวจึงมีอุณหภูมิต่ำ
56.
การเคลื่อนไหวของเปลือกโลกในบริเวณที่เป็นประเทศไทยทำให้เกิดผลต่างๆยกเว้นข้อใด
1. การยกตัวทำให้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ราบสูง
2. การยุบตัวทำให้ภาคกลางเป็นแหล่งรองรับตะกอน
3. การบีบอัดตัวและยกตัวกลายเป็นทิวเขาสลับหุบเขาของภาคเหนือ
4. การยกตัวของภูเขาภาคใต้เป็นแนวจากเหนือถึงใต้
57.
ข้อความใดที่อธิบายลักษณะภูมิประเทศไม่ถูกต้อง
1. ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของภาคใต้เกิดจากการจมตัว
2. ดินดอนสามเหลี่ยมของที่ราบภาคกลางเกิดจากดินตะกอนแม่น้ำ
3. การโก่งงอของเปลือกโลกในภาคเหนือทำให้เกิดเทือกเขาขนานในแนวเหนือใต้
4. การยกตัวของแผ่นดินทั้งทางด้านตะวันตกและด้านใต้ทำให้ภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือลาดเอียงไปทางตะวันออก
58.
เพราะเหตุใดที่ราบสูงโคราชจึงไม่จัดอยู่ในภูมิประเทศแบบที่ราบสูงอย่างแท้จริง
1. มีความชันทางด้านตะวันตกและใต้
2. มีความสูงเฉลี่ย
150-180 เมตร
3. ไม่มีภูเขาล้อมรอบ
4. มีขนาดเล็ก
59. ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของไทยมีลักษณะภูมิประเทศเป็นแบบใด
1. เป็นที่ราบลูกคลื่นหรือที่ราบลูกระนาด
(Rolling
plain)
2. เป็นที่ราบสูงซึ่งมีความสูงตั้งแต่
500-2000 ฟุต ลาดเอียงจากเหนือไปถึงใต้
3. เป็นที่ราบดินตะกอนแต่ถูกยกตัวสูงขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งจากแรงดันภายในโลก
4. เป็นที่ราบซึ่งมีลักษณะคล้ายที่ราบสูง
นั่งจากวิภาชันหรือผาตั้ง (escapement) ทางตะวันตกและทางใต้ แล้วลาดเอียงไปทางตะวันออก
60.
ภูมิประเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความลาดเอียงไปทางไหน
1. สูงจากตะวันออก
แล้วค่อยๆลาดมาทางตะวันตก
2. สูงทางเหนือ
แล้วค่อยๆลาดมาทางใต้
3. สูงทางตะวันตก แล้วค่อยๆลาดมาทางตะวันออก
4. สูงทางใต้
แล้วค่อยๆลากมาทางเหนือ
61.
การเกิดแผ่นดินไหวในภาคเหนือและภาคตะวันตกของไทย มีผลมาจากข้อใด
1. พื้นที่เป็นเขตภูเขาไฟมาก่อน
2. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตหินเก่าและหินกลางเก่ากลางใหม่
3. เป็นเขตที่เปลือกโลกถูกแรงกดทับจากภูเขามากที่สุด
4. พื้นที่อยู่ใกล้เขตภูเขาหินใหม่ซึ่งทอดตัวผ่านทางตะวันตกของพม่า
62.
เพราะเหตุใดประเทศไทยจึงไม่มีปรากฎการณ์เกี่ยวกับภูเขาไฟและแผ่นดินไหว
1. เพราะตั้งอยู่ในเขตโครงสร้างหินยุคเก่า
2. เพราะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำ
3. เพราะตั้งอยู่ในเขตโครงสร้างหินยุคใหม่
4. เพราะมีภูเขาสูงๆกระจายอยู่น้อย
63.
ข้อใดตรงกับลักษณะภูมิประเทศของภาคกลาง
1. ภาคกลางตอนล่างเป็นพื้นที่ราบใหญ่กว้างขวางเกิดจากการทับถมของแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่จังหวัดนครสวรรค์ถึงอ่าวไทย
2. ภาคกลางตอนล่าง
เป็นพื้นที่ราบลูกฟูกและมีที่ราบดินตะกอนรูปพัดขนาบข้าง
3. ภาคกลางตอนบนโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำและพื้นที่ราบลูกฟูก
4. ภาคกลางตอนบนเป็นเนินเขาเตี้ย
สลับกับที่ราบลูกฟูก
64.
ปัจจัยข้อใดที่ใช้อธิบายข้อแตกต่างระหว่างภาคกลางตอนบนกับภาคกลางตอนล่างได้ถูกต้อง
1. ภูมิประเทศและภูมิอากาศ
2. ภูมิอากาศและระบบแม่น้ำลำธาร
3. ระบบแม่น้ำลำธารและชนิดของดิน
ความหนาของตะกอนดิน
4. ชนิดของดิน
ความหนาของตะกอนดินและภูมิประเทศ
65.
หลักฐานที่บ่งชี้ว่าที่ราบภาคกลางเคยเป็นทะเลมาก่อนคือข้อใด
1. ลักษณะภูมิประเทศที่มีความต่างระดับน้อย
2. การพบแร่ยิปซัมที่พิจิตร
3. ลักษณะภูมิประเทศดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ
4. การพบซากไดโนเสาร์ที่นครสวรรค์
66.
ข้อใดแสดงถึงลักษณะของพื้นที่ราบภาคกลางตอนล่าง
1. เป็นดินดอนสามเหลี่ยม
2. เป็นที่ราบลุ่มน้ำขังบางบริเวณ
3. เป็นพื้นที่ราบน้ำท่วมบางปี
4. เป็นสันดอนปากแม่น้ำ
67.
ข้อใดบ่งชี้ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ราบภาคกลางตอนล่างได้อย่างชัดเจน
1. การปลูกผักและผลไม้ต้องยกร่อง
2. การสร้างบ้านต้องให้มีใต้ถุนสูง
3. การเกิดแผ่นดินทรุดเมื่อสูบน้ำบาดาล
4. การที่มีถนนและทางหลวงเป็นเส้นตรง
68. ข้อใดตรงกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ของภาคกลางมากที่สุด
1. ได้รับอิทธิพลจากทะเลเพียงด้านเดียวคือจากด้านทิศใต้หรืออ่าวไทย
2. มีภูมิอากาศทุ่งหญ้าเมืองร้อนปริมาณฝนจึงขึ้นอยู่กับอิทธิพลของลมมรสุม
3. มีระบบลุ่มแม่น้ำขนาดใหญ่ระบบเดียวคือแม่น้ำเจ้าพระยา
4. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบดินตะกอนที่เกิดมาไม่นานเนื่องจากเคยเป็นทะเลมาก่อน
69.
ลักษณะภูมิประเทศในภาคกลางตอนล่างมีผลต่อสภาพน้ำอย่างไร
1. น้ำเกิดเน่าเสียได้ง่าย
2. น้ำจะไปน้ำท่วมทุกปี
3. น้ำทะเลหนุนทำให้น้ำเค็ม
4. น้ำท่วมขังบริเวณนี้ระบายออกช้า
70. เพราะเหตุใดภาคกลางตอนล่างตั้งแต่จังหวัดนครศรีอยุธยาไปจดอ่าวไทยจึงมีน้ำท่วมขังเป็นเวลานาน
1. บริเวณนี้พื้นที่สุดต่ำมาก
2. บริเวณนี้สูงจากระดับน้ำทะเลเล็กน้อย
3. บริเวณนี้คู่ครองถูกทับถมแทบหมด
4. บริเวณนี้มีน้ำทะเลขึ้นลงวันละ
2 ครั้ง
71.
การสลายตัวของหินบะซอลต์ แอนดีไซต์และทัปต์
ทำให้เกิดลักษณะเฉพาะทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมกับการผลิตในข้อใด
1. อุตสาหกรรมซีเมนต์จังหวัดสระบุรี
2. อุตสาหกรรมเซรามิกที่จังหวัดลำปาง
3. การปลูกพืชไร่ที่จังหวัดกาญจนบุรี
4. การปลูกมะขามหวานที่จังหวัดเพชรบูรณ์
72.
เขาหินปูนที่พบในภาคเหนือและภาคตะวันตกมีความสำคัญทางเศรษฐกิจอย่างไร
1. เป็นแหล่งวัตถุดิบอุตสาหกรรมก่อสร้างและเป็นแหล่งท่องเที่ยว
2. เป็นบริเวณที่อากาศดีเหมาะสำหรับการนันทนาการ
3. เป็นเขตที่มีแร่โลหะต่างๆเหมาะสำหรับการตั้งโรงงาน
4. เป็นเขตแร่รัตนชาติทำให้เกิดอุตสาหกรรมอัญมณี
73.
เหตุใดจังหวัดสระบุรีจึงเป็นแหล่งอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ที่สำคัญของประเทศไทย
1. มีแหล่งหินปูนมากและห่างไกลชุมชน
2. มีแหล่งหินปูนมากและตั้งอยู่ไม่ไกลจากตลาดผู้ใช้
3. ตั้งอยู่ใกล้กับตลาดผู้ชายและทำการขนส่งทางถนนดี
4. มีโรงโม่หินหลายแห่งและตั้งอยู่ไม่ไกลจากตลาดผู้ใช้
74.
เหตุใดทิวเขาภูเก็ตและทิวเขานครศรีธรรมราชจึงมีแร่ดีบุกและวุลแฟรมมาก
1. เพราะมีหินปูนอยู่มาก
2. เพราะมีหินแกรนิตแทรกอยู่มาก
3. เพราะมีหินบะซอลต์กระจายอยู่ทั่วไป
4. เพราะมีสีหน้าตกตะกอนทับถมอยู่มาก
75.
ปัจจัยใดทำให้ภาคตะวันตกแห้งแล้ง
1. เป็นพื้นที่เขตเงาฝนและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
2. เป็นพื้นที่อยู่ใต้อิทธิพลของลมข้าวเบาซึ่งเป็นลมแล้ง
3. เป็นพื้นที่ด้านรับลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งเป็นลมแล้ง
4. เป็นพื้นที่ที่อยู่ห่างไกลจุดกำเนิดของพายุหมุนจากทะเลจีนใต้มากที่สุด
76.
ความแห้งแล้งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือเกิดจากสาเหตุใด
1. มีปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่าภูมิภาคอื่นๆ
2. ฤดูฝนสั้นมีช่วงฤดูแล้งขั้นสลับเป็นเวลานาน
3. มีแหล่งน้ำธรรมชาติน้อยไม่สามารถกักเก็บน้ำไว้ได้
4. พายุไต้ฝุ่นซึ่งนำฝนมาตกได้อ่อนกำลังลงเมื่อขึ้นฝั่งประเทศเวียดนาม
77.
ถ้าท่านจะคิดถึงปัญหาความแห้งแล้งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ท่านจะมองถึงสาเหตุใหญ่เบื้องต้นในข้อใดก่อน
1. ป่าไม้เหลือน้อยนิด
2. ภูมิประเทศเป็นที่ราบสูง
3. พื้นดินไม่สามารถอุ้มน้ำไว้ได้
4. ปริมาณฝนตกน้อยกว่าภาคอื่นๆ
78.
สาเหตุที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยแห้งแล้งเพราะอะไร
1. อัตราการระเหยของน้ำและการคายน้ำของพืชมีมาก
2. ความสามารถที่เก็บกักน้ำไว้บนผิวดินมีน้อย
3. ปริมาณน้ำที่ได้จากแหล่งอื่นๆนอกจากฝนตกมีน้อย
4. ปริมาณน้ำฝนที่ตกมีจำนวนน้อย
79.
ข้อใดคือสาเหตุที่ทำให้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือแห้งแล้งและมีผลผลิตต่ำ
1. ทำการเกษตรผิดวิธี
2. เป็นบริเวณที่ได้รับปริมาณน้ำฝนต่ำ
3. ดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทราย
4. ลำน้ำส่วนใหญ่ไหลลงสู่แม่น้ำโขง
80.
ปัญหาความแห้งแล้งโดยทั่วไปของภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งยากต่อการแก้ไขมีมูลเหตุสำคัญมาจากอะไร
1. ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา
2. หินดินดานและลักษณะหินในภูมิภาค
3. ลักษณะการเป็นที่ราบสูงด้านอับลม
4. ระยะห่างไกลจากทะเล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น