วันอาทิตย์, กรกฎาคม 06, 2568

แนวข้อสอบกลางภาค เทอม1

 1.ถ้าวัดระยะทางจริงในภูมิประเทศได้ 2.5 กิโลเมตรและจัดระยะทางในแผนที่ได้ 5 เซนติเมตร แผนที่นี้ใช้มาตราส่วนใด

1. 1:5,000
2
. 1:50,000
3
. 1:500,000
4. 1:500,0000

 

2. หมู่บ้าน 2 แห่งอยู่ห่างกัน 8 กิโลเมตรให้หาระยะทางระหว่างหมู่บ้านดังกล่าวในแผนที่มาตราส่วน 1:2,5000

1. 8 เซนติเมตร
2. 16 เซนติเมตร
3. 24เซนติเมตร
4. 32เซนติเมตร

 

3. ในแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วน 1:50,000 วัดความยาวของแม่น้ำปิงได้ 4 เซนติเมตรและแม่น้ำเจ้าพระยาได้ 2 เซนติเมตร ความยาวของแม่น้ำทั้งสองรวมกันเป็นเท่าไหร่ในพื้นที่จริง

1. 30 กิโลเมตร

2. 40 กิโลเมตร

3. 50 กิโลเมตร

4. 60 กิโลเมตร

 

4. ในแผนที่มาตราส่วน 1:50,000 วัดสวนสาธารณะแห่งหนึ่งได้ 6 ตารางเซนติเมตรสวนสาธารณะแห่งนี้มีพื้นที่จริงเท่าใด

1. 1.5 ตารางกิโลเมตร

2. 3 ตารางกิโลเมตร

3. 4.5 ตารางกิโลเมตร

4. 6 ตารางกิโลเมตร

 

5. ข้อใดเป็นเหตุผลที่ถูกต้องของมาตราส่วนใหญ่

1. แผนผังบ้าน 1:500 เป็นแผนผังมาตราส่วนใหญ่เพราะเห็นตำแหน่งประตูหน้าต่างได้

2. แผนผังหมู่บ้าน 1:5,000 เป็นมาตราส่วนใหญ่เพราะบอกเส้นทางเข้าได้ชัดเจน

3. แผนที่ธรณีวิทยา 1:50,000 เป็นแผนที่มาตราส่วนใหญ่เพราะครอบคลุมทั้งหมด

4. แผ่นที่ภูมิประเทศ 1:50,000 แผนที่มาตราส่วนใหญ่ก็แสดงการใช้ที่ดินได้ชัดเจน

 

6. หากมีการแข่งขันเทนนิสที่สหราชอาณาจักรในวันที่ 15 มีนาคม เวลา 16.00น. ผู้ชมในประเทศไทยจะต้องเปิดโทรทัศน์เพื่อรับชมการถ่ายทอดสดดังกล่าวในเวลาใด

1. 19.00 น.

2. 10.00 น.

3. 22.00 น.

4. 23.00 น.

 

7.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเส้นวันที่

1. เวลาของเมืองที่ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของเส้นวันที่จะช้ากว่าที่กรีนนิช

2. เวลาของเมืองที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเส้นวันที่จะเร็วกว่าที่กรีนนิช

3. เวลาของเมืองที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเส้นวันที่จะช้ากว่าที่กรีนนิช

4. เวลาของเมืองที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเส้นวันที่จะเร็วกว่าที่กรีนนิช

 

8. ภาคใต้ฝั่งตะวันออกอาจได้รับผลกระทบจากสึนามิหาดมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นที่ใด

1. ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะเบอร์เนียว

2. ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะสุมาตรา

3. ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะลูซอน

4. ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะชวา

 

9. เมื่อพิจารณาในเชิงภูมิศาสตร์วัฒนธรรม ประชากรในทวีปใดมีความคล้ายคลึงกันมากที่สุด

1. ทวีปยุโรปกับทวีปอเมริกาเหนือ

2. ทวีปยุโรปกับทวีปอเมริกาใต้

3. ทวีปเอเชียกับทวีปแอฟริกา

3. ทวีปออสเตรเลียกับทวีปอเมริกาใต้

 

10. แผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วนใดของประเทศไทยที่ครอบคลุมพื้นที่ทั้งจังหวัด         

1. 1:10,000                                       

2. 1:50,000         

3. 1:100,000                                        

4. 1:250,000

 

11. ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลทุติยภูมิ

1. แผนที่

2. ผลงานวิจัย

3. ภาพจากดาวเทียม

4. ภาพถ่ายทางอากาศ

 

12. หากเวลาที่ประเทศ ก. คือ 9.00 น. ประเทศ ข. ซึ่งอยู่ห่างออกไปทางทิศตะวันออก 15 องศาจะเป็นเวลาใด   

1. 17.00 น.

2. 18.00 น.

3. 10.00 น.

4. 21.00 น                    

 

13. ข้อใดไม่แสดงปัจจัยที่มีต่อลักษณะภูมิอากาศ

1. จังหวัดภูเก็ตตั้งอยู่ที่ละติจูด 8 องศาเหนือ

2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแม่น้ำโขงไหลผ่าน

3. เชียงใหม่อยู่สูงจากระดับทะเลปานกลาง 303 เมตร

4. ภาคใต้ฝั่งตะวันออกได้รับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ        

 

14. ลักษณะภูมิประเทศที่มนุษย์เลือกตั้งถิ่นฐานมากที่สุดตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบันคือข้อใด

1. ที่ราบลุ่มแม่น้ำ

2. ที่ราบสูง

3. ภูเขา

4. ที่ราบหุบเขา

 

15. ถ้าจะเดินทางท่องเที่ยวชมถ้ำหินงอกหินย้อยล่องแก่งชมน้ำตกที่สวยงามควรไปท่องเที่ยวจังหวัดใด

1. นครราชสีมา

2. กาญจนบุรี

3. ชลบุรี

4. สิงห์บุรี

 

16. ถ้าจะตั้งโรงงานน้ำตาลให้ใกล้แหล่งวัตถุดิบแรงงานหาง่ายควรเลือกพื้นที่ในข้อใดจึงจะเหมาะสมที่สุด

1. ประจวบคีรีขันธ์ ระยอง เพชรบุรี

2. นครราชสีมา กำแพงเพชร ชัยภูมิ

3. ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี

4. กาญจนบุรี นครสวรรค์ สุพรรณบุรี

 

17. ศึกษาเรื่องใดเกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์กายภาพน้อยที่สุด

1. ปัจจัยที่มีผลต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ

2. การเปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศประจำวัน

3. ลักษณะของพันธุ์ไม้และพันธุ์สัตว์ประจำถิ่น

4. กำเนิดและวิวัฒนาการของลักษณะภูมิประเทศ

 

18. คำถามข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์กายภาพ

1. เหตุใดจึงมีภูเขายอดราบอย่างสมบูรณ์เช่นภูกระดึง

2. เหตุใดจึงยังไม่มีการนำเอาหินน้ำมันที่แม่ฮ่องสอนมาใช้ประโยชน์

3. เหตุใดเขาสามมุขจะมีหินแกรนิตแต่ภูเขาในกาญจนบุรีมีหินปูน

4. เหตุใดในภาคกลางจะมีฝนตกทางตอนล่างของภาคมากกว่าตอนบน

 

19. ข้อใดเป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการตรวจติดตามภาวะโลกร้อนทั่วโลก

1. ตั้งสถานีวัดอุณหภูมิให้ครอบคลุมทั่วโลก

2. ตรวจสอบอุณหภูมิจากสถานีอุตุนิยมวิทยาที่มีอยู่ทั่วโลก

3. ตรวจสอบอุณหภูมิจากระบบตรวจอากาศที่สนามบินทั่วโลก

4. วิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากรซึ่งโคจรอยู่รอบโลก

 

20. อธิบายข้อใดถูกต้องที่สุดสำหรับการสร้างฝายของประชากรในภาคเหนือ

1. เป็นเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ

2. เป็นอ่างเก็บน้ำที่มีขนาดเล็กเกินไป

3. เป็นวิธีที่เหมาะสมกับพื้นที่ป่าไม้ถูกทำลาย

4. เป็นวิธีเก็บกักน้ำที่มีประสิทธิภาพต่ำ

 

21. การกระทำของใครที่แสดงให้เห็นถึงการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมที่สุด

1. นายดีซื้อควายเหล็กมาไว้ใช้ไถนา

2. นายมีจ้างช่างมาซ่อมเครื่องจักรในโรงงาน

3.  นายน้อยผ่อนส่งรถบรรทุกสิบล้อเพื่อขนส่งผลผลิต

4. นายมากเช่ารถแทรกเตอร์ประสิทธิภาพสูงและเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง

 

22. ข้อใดไม่ใช่การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

1. นายมีใช้ควายเหล็ก ไถนาแทนการใช้ควาย

2. องค์การบริหารส่วนตำบลอนุมัติให้สร้างฝายทดน้ำ

3. กลุ่มสหกรณ์การเกษตรร่วมกันใช้กระสอบทรายกันน้ำท่วม

4. นาย จิมมี่ ยังส์กำลังซ่อมเครื่องจักรในนิคมอุตสาหกรรมบางพลี

 

23. การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับข้อใดที่ตรงกับความเป็นจริง

1. ภาคเหนือนิยมผลิตอุตสาหกรรมในครัวเรือนเพราะไม่ต้องการลงทุนสูง

2. ภาคกลางมีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เพราะสภาพเศรษฐกิจดี

3. ภาคตะวันตกมีโรงงานอุตสาหกรรมเกษตรเพราะมีผลผลิตการเกษตรมาก

4. ภาคใต้ไม่นิยมใช้เครื่องจักรในการเกษตรพอมีแรงงานในครัวเรือนมาก

 

24. การจัดกลุ่มประเทศใดลักษณะทางกายภาพในข้อใดต่างจากข้ออื่น

1. อินเดีย เกาหลีใต้ อันเตอร์รา

2. เกาหลีเหนือ เนปาล สเปน

3. อัฟกานิสถาน จีน เนเธอร์แลนด์

4. อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร

 

25. เมืองหลวงใดมีทำเลที่ตั้งแตกต่างจากเมืองหลวงอื่น

1. ไคโร

2. ลาปาซ

3. ลอนดอน

4. กรุงเทพมหานคร

 

26. เมืองใดที่มีการตั้งถิ่นฐานแตกต่างจากเมืองอื่น

1. นิวยอร์ค

2. วอลชิงตัน ดี ซี

3. แคนเบอร์รา

4. ปารีส

 

27. ความสูงในที่ภูมิประเทศมีลักษณะดังรูปแสดงว่าภูมิประเทศจึงมีลักษณะอย่างไร

1. หน้าผา

2. ที่ราบ

3. ที่ลาด

4. ที่ราบสูง

 

28. ที่ราบสูงซึ่งอยู่ที่ราบและมีขอบชันหมายถึงที่ราบลุ่มใด

1. ที่ราบลุ่มธิเบตในประเทศจีน

2. ที่ราบสูงเดกกันในประเทศอินเดีย

3. ที่ราบสูงอนาโตเลียในประเทศตุรกี

4. ที่ราบสูงปาตาโกเนียในประเทศอาร์เจนตินา

 

29. ข้อความใดไม่ถูกต้อง

1 . ที่ราบสูงเม็กซิโกเป็นที่ราบสูงเชิงเขา

2. ที่ราบสูงเดกกันเป็นที่ราบสูงชายฝั่ง

3. ที่ราบสูงทิเบตเป็นที่ราบสูงระหว่างภูเขา

4. ที่ราบสูงอาหรับเป็นที่ราบสูงภาคพื้นทวีป

 

30. ภูกระดึงในจังหวัดเลยมีกระบวนการเกิดเหมือนกับเทือกเขาใด

1. แอดดิสในประเทศชิลี

2. ร๊อกกี้ในสหรัฐอเมริกา

3. แบล็กฟอเรส ในประเทศเยอรมนี

4. เกรดดิไวดิงในประเทศออสเตรเลีย

 

31. ที่ราบภาคกลางของประเทศไทยมีกระบวนการเกิดเหมือนกับข้อใด

1. ที่ราบตอนกลางของทวีปออสเตรเลีย

2. ที่ราบตอนกลางของประเทศโปแลนด์

3. ที่ราบปามปัสในประเทศอาร์เจนตินา

4. ที่ราบลูกฟูกแคนเทอร์เบอรี่ในเกาะใต้

 

32. น่านน้ำที่เป็นเขตเศรษฐกิจจำเพาะของไทยมีระยะทางยาวเท่าไหร่นับจากทะเลอาณาจักร

1. 3 ไมล์ทะเล

2. 12 ไมล์ทะเล

3. 20 ไม้ทะเล

4. 188 ไมล์ทะเล

 

33. ลักษณะทางกายภาพข้อใดไม่ถูกต้อง

1. ที่ตั้งปราสาทหินพนมรุ้งบุรีรัมย์เป็นภูเขาโดด

2. ที่ตั้งเจดีย์พระมหาธาตุนครศรีธรรมราชเป็นสันทราย

3. ที่ตั้งองค์พระปฐมเจดีย์นครปฐมเป็นเนินตะกอนรูปพัด

4. ที่ตั้งวัดเจดีย์บนดอยสุเทพเชียงใหม่มีโครงสร้างเป็นหินแกรนิต

 

34. ข้อใดไม่ถูกต้องตามสภาพภูมิศาสตร์

1. ชายฝั่งทะเลอันดามันเป็นไหล่ทวีปพื้นที่ลาดชันและลึกมากมีคลื่นลมรุนแรง

2. ภูเขาหินปูนในภาคเหนือมีลักษณะยอดโค้งมนไม่หลักแหลมขรุขระมีถ้ำภายในภูเขา

3. ภูเขาพนมดงรักเริ่มจากช่องตะโกจังหวัดบุรีรัมย์ไปสิ้นสุดที่จังหวัดอุบลราชธานี

4. แม่น้ำบางปะกงเกิดจากแม่น้ำนครนายกและแม่น้ำปราจีนบุรีไหลลงทะเลระหว่างจังหวัดฉะเชิงเทรากับจังหวัดชลบุรี

 

35. ข้อใดเป็นจุดสังเกตว่าดอยอินทนนท์ ดอยปุยและดอยสุเทพเป็นภูเขาหินแกรนิต

1. มียอดโค้งมนไม่หยักแหลมขรุขระ

2. มียอดแบบราบสลับกับยอดยอดแหลม

3. มียอดโค้งมนหมุนสลับหลักแหลมขรุขระ

4. มียอดอยากแรมตะปุ่มตะป่ำมีทั้งภายในภูเขา

 

36. ภูมิประเทศบนโครงสร้างหินแกรนิตหินปูนและหินทรายมีรูปทรงแบบใดตามลำดับ

1. เขารูปโดมลาดนูน เขายอดป้าน เขาแหลมหลายยอด

2. เขายอดป้าน เขารูปโดมลาดนูน เขาแหลมหลายยอด

3. เขารูปโดมลาดนูน เขาแหลมลายยอด เขายอดป้าน

4. เขารูปโดมหลายยอด เขารูปโดมหลายยอด เขายอดป้าน

 

37. ลักษณะภูเขาในภาคตะวันออกส่วนมากเป็นผู้เขารวบรวมเพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น

1. เกิดจากกระบวนการกัดกร่อนของน้ำทะเลในอดีต

2. เนื่องจากหินฐานส่วนมากเป็นหินแกรนิต

3. เนื่องจากหินฐานส่วนมากเป็นหินบะซอลต์

4. เกิดจากกระบวนการกัดกร่อนของฝน

 

38. ข้อใดเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ภูเขาสูงคงอยู่หลายแห่งในภาคใต้

1. ภูเขาส่วนใหญ่เป็นแหล่งวัตถุดิบที่มีกฎหมายคุ้มครอง

2. ภูเขาส่วนใหญ่มีหินแกรนิตเป็นแกน

3. ภูเขาส่วนใหญ่เป็นแหล่งสะสมของแร่ดีบุกแร่ทังสเตน

4. ภูเขาส่วนใหญ่มีหินปูนสลับกับหินดินดาน

 

39. เพราะเหตุใดภูเขาหินปูนจึงมียอดหยักแหลม

1. เพราะหินปูนมีการแตกหักได้ง่าย

2. เพราะหินปูนละลายน้ำได้ง่าย

3. เพราะหินปูนโครงสร้างโปร่งจึงทรุดตัวง่าย

4. เพราะโครงสร้างภูเขาหินปูนมีหินแกรนิตแทรกอยู่

 

40. ในภาคตะวันตกของประเทศไทยโดยเฉพาะในเขตภูเขาแทบจังหวัดกาญจนบุรีจะมีทางปรากฏอยู่มากมายแสดงให้เห็นว่าโครงสร้างของดินดังกล่าวเป็นหินประเภทใด

1. หินทรายและหินดินดาน

2. หินแกรนิต

3. หินปูน

4. หินบะซอลต์

 

41. ข้อใดประกอบด้วยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพทั้งหมด

1. ขี้เอียด ทางเกวียน อุทยานแห่งชาติอ่างทอง

2. แพะเมืองผี โป่ง บ่อบาดาล

3. น้ำซับ ปลาแล่ ป่าพุ

4. พรมแดน ลานตะพัก ดอนหอยหลอด

 

42. กฎการทางภูมิศาสตร์ข้อใดที่มีกระบวนการคล้ายคลึงกัน

1. เสาดิน  แพะเมืองผี

2. โป่งยุบ เขากระโดด

3.เสาเฉลียง  ผาแต้ม

4. ภูผาเทิบ แก่งตะนะ

 

43. ลักษณะภูมิประเทศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เรียกว่ากุดนั้นสามารถเปรียบเทียบได้กับลักษณะภูมิประเทศของภาคเหนือในข้อใด

1. อ่างสลุง

2. ฮ๊อมจ่อม

3. น้ำลัด

4. ฝาย

 

44. ลักษณะภูมิประเทศคู่ใดเป็นการผสมที่เกิดจากการกระทำของคลื่นน้ำขึ้นน้ำลงและกระแสน้ำชายฝั่ง

1. ดินดอนสามเหลี่ยม หน้าผาชันริมทะเล

2. คันดินธรรมชาติ สันดอนจะงอย

3. หาดและสันทราย เนินตะกอนรูปพัด

4. ที่ราบน้ำทะเลท่วมถึง สันดอนเชื่อมเกาะ

 

45. ลักษณะภูมิประเทศคู่ใดเกิดจากการทับถม

1. เนินตะกอนรูปพัด สันทราย

2. คันดินธรรมชาติ เนินเขา

3. ที่ราบลูกฟูก ที่ราบสูงเชิงเขา

4. กุด ดินดอนสามเหลี่ยม

 

46. ข้อใดถูกต้องสำหรับลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากแม่น้ำและเหมาะสมสำหรับกิจกรรมใด

1. มีทะเลสาบรูปแอกแม่น้ำโค้งตวัด ไม่เหมาะแก่การตั้งถิ่นฐาน

2. ลานตะพักลําน้ํามีระดับสูงกว่าที่ราบน้ำท่วมถึงเหมาะสำหรับปลูกพืชไร่สวน

3. ดินดอนสามเหลี่ยมพบบริเวณที่แม่น้ำไหลออกแต่ลืมเหมาะสำหรับเลี้ยงกุ้งกุลาดำ

4. ที่ราบน้ำท่วมถึงเป็นที่สะสมของวัสดุน้ำผ่านทุกขนาดเหมาะแก่การยกร่องปลูกข้าว

 

47. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของชายฝั่งทะเลที่เกิดจากการยกตัวของพื้นที่ในภาคใต้

1. สันทรายจะงอย

2. ลากูน

3. ชะวากทะเล

4. อ่าว

 

48. เหตุใดจึงเรียกบริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาว่าดินดอนสามเหลี่ยม

1. มีการทับถมของตะกอนน้ำกร่อยเป็นบริเวณกว้างที่ปากแม่น้ำ

2. มีแม่น้ำแยกสาขาออกจากแม่น้ำสายหลัก

3. มีเนินขนาดที่ราบสองด้านเป็นรูปยอดแหลมฐานกว้าง

4. กรุงเทพและปริมณฑลมีพื้นที่ราบกว้างกว่าพื้นที่ดอนบน

 

49. เพราะเหตุใดที่ราบภาคกลางตอนล่างหรือที่เรียกว่าดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยาจึงเหมาะแก่การเกษตรกรรม

1. มีแม่น้ำพัดพาดินตะกอนมาถมทับอยู่เสมอ

2. มีระบบชลประทานที่ก้าวหน้า

3. มีแร่ธาตุอยู่ในดินหลายชนิด

4. มีพื้นที่ราบที่กว้างขวาง

 

50. ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กายภาพข้อใดที่เป็นอุปสรรคต่อการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มากที่สุด

1. โครงสร้างธรณี มีชั้นหินทรายรองรับ

2. เทือกเขาสูง มีป่าไม้ปกคลุมหนาแน่น

3. ที่ราบลุ่มแม่น้ำ มีน้ำท่วมขังเกือบตลอดปี

4. ภูมิอากาศป่าฝนเมืองร้อน มีฝนชุกเกือบตลอดปี

 

51. บริเวณใดต่อไปนี้มีพื้นที่ส่วนมากไม่มีหินยุคความเตอร์นารี

1. เกาะ

2. ทุ่งกุลาร้องไห้

3. ที่ราบระหว่างภูเขา

4. ดินดอนสามเหลี่ยม

 

52. ในเขตร้อนชื้นตัวการใดบนพื้นผิวโลกมีอิทธิพลมากที่สุดในการทำให้เกิดลักษณะภูมิประเทศประเภทต่างๆ

1. แสงอาทิตย์

2. ธารน้ำไหล

3. ลม

4. คลื่น

 

53. ในเขตภูมิอากาศร้อนชื้นตัวกระทำใดมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิประเทศมากที่สุด

1. ลม

2. แม่น้ำ

3. คลื่น

4. น้ำใต้ดิน

 

54. เพราะเหตุใดแม่น้ำเจ้าพระยา แม่กลอง มูล จึงมีโค้งตวัดมาก

1. เพราะอะไรผ่านพื้นที่แต่ก่อนเก่าการกัดกร่อนด้านเล็กมีมากกว่าด้านข้าง

2. เพราะไหลผ่านดินพื้นดินร่วนการกร่อนด้านข้างมีมากมายกว่าด้านลึก

3. เพราะไหลผ่านที่ราบ ที่มีระดับความสูงใกล้ระดับทะเลปานกลาง

4. เพราะไหลผ่านที่ราบการกัดกร่อนด้านข้างมีมากกว่า

 

55. เพราะเหตุใดทั้งตอนกลางและตอนปลายของแม่น้ำชีและแม่น้ำมูลจึงมีลักษณะโค้งตวัดมาก

1. เพราะเป็นแม่น้ำที่ไหลมาจากเทือกเขาสูง

2. เพราะเป็นแม่น้ำที่ไหลบนชั้นหินทราย

3. เพราะเป็นแม่น้ำที่ไหลบนพื้นที่ราบ

4. เพราะเป็นแม่น้ำที่มีตะกอนน้ำพาจำนวนมาก

 

 56. ภูมิประเทศแบบใดในประเทศไทยที่ทำให้มีแม่น้ำโค้งตวัดมาก

1. ที่ราบในภูมิภาคไม่ว่าจะเป็นที่ราบแบบใด

2. ที่ลาดน้ำทะเลท่วมถึงในอดีตส่วนมากอยู่ในภาคกลาง

3. ที่ราบน้ำทะเลท่วมถึงในปัจจุบันส่วนมากอยู่ในภาคตะวันออก

4. ที่ราบที่เกิดจากการทับถมของตะกอนสูงมากอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

 

57. ปัจจัยที่ทำให้แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำมูล แม่น้ำชี แม่น้ำบางปะกงและแม่น้ำแม่กลองตอนปลายลคดไปโค้งมาคือข้อใด

1. ปริมาณน้ำในลำน้ำมีมากเกินไป

2. น้ำที่ไหลในลำน้ำมีตะกอนมากเกินไป

3. ความลาดเอียงของลำน้ำมีน้อยเกินไป

4. ลำน้ำมีความยาวมากเกินไป

 

 

58. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับข้อความที่ว่าการตั้งถิ่นฐานมีความสัมพันธ์กับลักษณะภูมิประเทศ

1. ชาวอาณานิคมสร้างบ้านชั้นเดียวใต้ถุนสูง

2. ปัจจุบันกรุงเทพฯมีการขายตัวออกขยายตัวออกไปทิศทุกทาง

3. ชื่อหมู่บ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักขึ้นต้นด้วยคำว่าโนน

4. แรงงานในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังส่วนใหญ่อพยพมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

 

59. ปรากฏการณ์ทางพื้นที่ข้อใดไม่ปรากฏในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำมูล

1. พื้นที่ป่าไม้หนาแน่นที่สุดของภูมิภาค

2. ดินส่วนใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำเป็นดินทรายและดินเค็ม

3. ประชากรตั้งถิ่นฐานหนาแน่นบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำชี

4. ทำนาบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำปลูกพืชไร่บริเวณลานตะพักต้นน้ำ

 

60. อะไรเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำให้ประชากรในภาคเหนือตั้งถิ่นฐานหนาแน่นบริเวณแอ่งที่ราบและหุบเขา

1. แม่น้ำไหลผ่านหลายสายและไม่ดินตะกอนอุดมสมบูรณ์

2. ป่าไม้และพื้นที่ราบเพื่อการเพาะปลูกกว้างขวาง

3. ภูมิอากาศและภูมิประเทศเพื่ออำนวยต่อการตั้งถิ่นฐาน

4. การคมนาคมสะดวกและปลอดภัย

 

61. ชุมชนส่วนใหญ่ในภาคเหนือมีขนาดเล็กเนื่องจากเหตุใด

1. พื้นที่เพื่อการทำไร่ไถนายมีขนาดจำกัด

2. ลักษณะภูมิประเทศเป็นเขาสูงสลับกับหุบเขา

4. พื้นที่ส่วนใหญ่อนุรักษ์ไว้เป็นเขตต้นน้ำและป่าสงวน

5. ลักษณะชุมชนประกอบด้วยชนกลุ่มน้อยและหลายกลุ่ม

 

62. ลักษณะภูมิประเทศข้อใดเกิดจากการกระทำของลม  

1. inselberg Loess

2. canyon geyser

3. cirque horn

4. delta fjord

 

63. โครงสร้างทางธรณีวิทยาบริเวณใดของประเทศไทยเป็นลักษณะเปลือกโลกยุบตัว

1. ชายฝั่งทะเลอันดามัน

2. ชายฝั่งตะวันตกของอ่าวไทย

3. ชายฝั่งทะเลด้านนอกตะวันออก

4. พรุบาเจาะในจังหวัดนราธิวาส

 

64. ข้อใดเป็นลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากการยกตัวของแผ่นดินที่มีขนาดใหญ่

1. เทือกเขาคงรัก

2. เทือกเขาผีปันน้ำ

3. เทือกเขาถนนธงชัย

4. เทือกเขาตะนาวศรี

 

65. ภูมิประเทศใดต่อไปนี้ที่บ่งชี้ถึงการยกตัวของแผ่นธรณีในอดีต

1. ทิวเขาผีปันน้ำในภาคเหนือ

2. ภูเขาโดยจังหวัดนครสวรรค์

3. ชายฝั่งทะเลจากนครศรีธรรมราชถึงปัตตานี

4. ชายฝั่งทะเลจากระนองถึงกระบี่

 

66. ภูมิประเทศที่มีดินอุดมสมบูรณ์ที่สุดอันเกิดจากการรวมตัวของตะกอนคือข้อใด

1. ที่ราบจากท้องทะเลเก่า

2. ที่ราบระหว่างเขา

3. ที่ราบชายฝั่งทะเล

4. ที่ลาดเชิงเขา

 

67. ภูมิประเทศที่เป็นภูเขาโดมลาบนูนภูเขายอดแหลมหลายยอดและภูเขายอดตาลภูเขาดังกล่าวประกอบด้วยหินฐานชนิดใดตามลำดับ

1. หินปูน หินทราย หินแกรนิต

2. หินทราย หินแกรนิต หินปูน

3. หินแกรนิต หินปูน หินทราย

4. หินแกรนิต หินทราย หินปูน

 

 68. เหตุใดเขตที่ราบลุ่มในออสเตรเลียส่วนใหญ่จึงนำมาใช้ในการเลี้ยงปศุสัตว์

1. เพราะแห้งแล้งเกินกว่าจะใช้เพาะปลูกได้

2. เพราะเกษตรมีความเชี่ยวชาญ

3. เพราะรัฐบาลให้เงินสนับสนุน

4. เพราะดินมีสารอาหารน้อย

 

69. ระยะทางจากกรุงเทพฯถึงทางแยกถนนมิตรภาพ 108 กิโลเมตรหมายความถึงการวัดระยะทางจากจุดเริ่มต้นที่ใด

1. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

2. อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

3. พระที่นั่งอนันตสมาคม

4. พระบรมมหาราชวัง

 

70. ถ้าเห็นป้ายบอกเส้นทางที่มีตราครุฑและหมายเลข 3013 อยากทราบว่าเป็นเส้นทางที่อยู่ในภาคใด

1. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

2. ภาคใต้

3. ภาคเหนือ

4. ภาคตะวันออก

 

71.ข้อใดคือที่ตั้งสมบูรณ์ของประเทศไทย

1. ทิศเหนือ 20o27’n ทิศใต้ 5o37’s ทิศตะวันออกE 105o38’e ทิศตะวันตก 97o22’w

2. ทิศเหนือ 20o27’n ทิศใต้ 5o37’s ทิศตะวันออกE 150o8’e ทิศตะวันตก 97o22’w

3. ทิศเหนือ 20o27’n ทิศใต้ 5o37’sทิศตะวันออกE 150oe ทิศตะวันตก 97o22’e

4. ทิศเหนือ 20o27’n ทิศใต้ 5o37’n ทิศตะวันออก 158oe ทิศตะวันตก 97o22’e

 

72. ต้องการศึกษาทะเลสาบน้ำเค็มท่านควรไปที่ทะเลสาบใด

1.มิชิแกนสหรัฐอเมริกา

2. ไบคาลสหพัฒน์รัฐรัสเซีย

3. บัลคาสาธารณรัฐคาซัคสถาน

4. แคสเปียนสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน

 

73. หลุมอุกกาบาตบนพื้นโลกเกี่ยวข้องกับกระบวนการใด

1. การกร่อนของแผ่นดิน

2. การปรับระดับแผ่นดิน

3. การแปรสัณฐานเปลือกโลก

4. การกระทำจากภายนอกโลก

74. ลิ่มความกดอากาศสูงปกคลุมภาคเหนือของประเทศไทย หมายความว่าอย่างไร

1. มวลอากาศเย็นซึ่งมีสัญลักษณ์เป็นรูปลิ่มปกคลุมภาคเหนือของประเทศไทย

2. แนวปะทะอากาศเย็นซึ่งมีสัญลักษณ์เป็นรูปลิ่มปกคลุมภาคเหนือของประเทศไทย

3. มวลอากาศร้อนซึ่งมีสัญลักษณ์เป็นรูปลิ่มถอยออกจากภาคเหนือของประเทศไทย

4. แนวปะทะอากาศร้อนซึ่งมีสัญลักษณ์เป็นรูปลิ่มออกจากภาคเหนือของประเทศไทย

 

75. บริเวณใดของประเทศไทยมีโอกาสที่จะเกิดหย่อมความกดอากาศต่ำได้มากที่สุด

1. ภาคใต้อยู่ใกล้ทะเลจึงได้รับอิทธิพลของลมมรสุมฤดูร้อน

2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทุกข์โลกจึงรับแสงเต็มที่

3. ภาคเหนือมีภูเขาสูงอุณหภูมิส่วนใหญ่ของพื้นที่จึงลดลงตามความสูง

4. ภาคกลางมีภูเขาหลายรอบตามขอบที่ราบบางบริเวณ

 

76. เดือนเมษายนของทุกปีมีปรากฏการณ์ใดในประเทศไทย

1. มีฝนตกกระจายทั่วเพราะเป็นเดือนเริ่มต้นของฤดูฝน

2. มีฝนตกบริเวณชายฝั่งทะเลเพราะได้รับอิทธิพลจากลมพายุ

3. มีช่วงเวลากลางวันนานกว่า 12 ชั่วโมงเพราะซีกโลกเหนือหันเข้าหาดวงอาทิตย์

4. มีช่วงเวลากลางคืนนานกว่า 12 ชั่วโมงเพราะซีกโลกเหนือหันออกจากดวงอาทิตย์

 

77. เพราะเหตุใดอากาศบนยอดเขาจึงเย็นกว่าบริเวณเชิงเขา

1. บริเวณยอดเขามีความกดอากาศต่ำ

2. บริเวณยอดเขามีป่าไม้ปกคลุมอย่างหนาแน่น

3. บริเวณยอดเขามีพื้นที่ที่ได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์น้อย

4. บริเวณยอดเขาได้รับอิทธิพลจากการคายความร้อนจากผิวโลกน้อย

 

78. สิ่งที่ทำให้ชุมชนเมืองมีอุณหภูมิสูงกว่าชนบทคือข้อใด

1. การคายความร้อนของพื้นผิวชุมชนเมืองมีมากกว่าในชนบท

2. ฝุ่นและคาร์บอนไดออกไซด์ในชุมชนเมืองดูดซับความร้อนไว้

3. ชุมชนเมืองมีการใช้พลังงานความร้อนมากกว่าชนบท

4. ความเร็วลมในชุมชนเมืองน้อยกว่าในชนบท

 

79. ลักษณะกายภาพใดที่ทำให้ฝนตกในชุมชนเมืองของประเทศไทยมากกว่าชนบท

1. เมืองมีอาคารสูงทำให้เกิดฝนแบบปะทะภูเขา

2. การยกตัวของอากาศในชุมชนเมือง

3. เมื่อมีฝุ่นละอองมากทำให้ไอน้ำกลั่นตัว

4. การจมตัวของอากาศเหนือชุมชนเมือง

 

80. การที่ชุมชนเมืองในประเทศไทยเปลี่ยนพื้นผิวดินธรรมชาติไปเป็นพื้นผิวคอนกรีตและแอลฟัลต์และอาคารบ้านเรือนหนาแน่นมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร

1. ทำให้ฝนตกในเมืองมากกว่าชนบทโดยรอบ

2. ทำให้ฝนตกในเมืองน้อยกว่าชนบทโดยรอบ

3. ทำให้ความชื้นสัมพันธ์ในเมืองสูงกว่าชนบทโดยรอบ

4. ทำให้ความชื้นสัมพัทธ์ในเมืองต่ำกว่าชนบทโดยรอบ

 

81. ถ้าใช้เกณฑ์การแบ่งเขตภูมิอากาศตามแบบของเครือเป็นลักษณะภูมิอากาศแบบใดที่พบในพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศไทย

1. อากาศชื้นอุณหภูมิปานกลางฝนตกในฤดูหนาวแห้งแล้งในฤดูร้อน

2. อากาศชื้นฝน อุณหภูมิสูงตลอดปีไม่มีฤดูแล้ง

3. พืชพรรณเป็นป่าดงดิบดูดอากาศชื้นฝนตกชุกกับมรสุมอุณหภูมิสูงมีฝนแรงสั้นพืชพรรณเป็นป่าดงดิบ

4. อากาศจึงสลับแล้วฝนตกปานกลางมีฤดูฝนและฤดูแล้งชัดเจนพืชพรรณเป็นทุ่งหญ้าและป่าโปร่ง

 

82. พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศไทยมีลักษณะภูมิอากาศประเทศสะวันนาเพียงอย่างเดียวยกเว้นบางส่วนของภาคใดที่มีลักษณะภูมิอากาศประเทศอื่นผสมผสานกันอยู่ด้วย

1. ภาคตะวันออกและภาคใต้

2. ภาคเหนือและภาคใต้

3. ภาคเหนือและภาคตะวันออก

4. ภาคตะวันตกและภาคตะวันออก

 

83. ภาคใดที่มีภูมิอากาศแตกต่างจากภาคอื่นมากที่สุด

1. ภาคใต้

2. ภาคเหนือ

3. ภาคกลาง

4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

 

84. ภูมิภาคใดของประเทศไทยมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนาครอบคลุมพื้นที่น้อยที่สุด

1. เหนือ

2. ตะวันออก

3. ตะวันออกเฉียงใต้

4. ตะวันตก

 

85. จังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราดมีลักษณะภูมิอากาศอย่างไร

1. อุณหภูมิฤดูร้อนค่อนข้างสูงพืชผลัดใบก่อนฤดูร้อน

2. สภาพอากาศค่อนข้างร้อนมีลมทะเลตลอดปี

3. บางเดือนมีฝนน้อยกว่า 60 มม. พืชเมืองร้อนไม่ผลัดใบ

4. ฝนตกในฤดูร้อนฤดูหนาวแห้งแล้ง

 

86. ข้อใดคือปัจจัยที่ทำไห้ลักษณะภูมิอากาศของประเทศไทยผันแปรน้อย

1. พายุหมุดจากทะเลจีนใต้

2. ลมค้าตะวันออกเฉียงเหนือ

3. ที่ตั้งซึ่งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร

4. ลมมรสุมฤดูร้อนและฤดูหนาว

 

87. ข้อใดเป็นปัจจัยควบคุมที่ทำไห้เกิดภูมิอากาศแบบต่างๆ

1. ทิศทางลมประจำระยะห่างจากแม่น้ำความสูงของพื้นที่

2. ทิศทางลมประจำละติจูดของพื้นที่กระเเสน้ำในมหาสมุทร

3. ละติจูดของพื้นที่ระยะห่างจากแม่น้ำกระเเสน้ำในมหาสมุทร

4. ละติจูดของพื้นที่ทิศทางลมแระจำการกระทำของมนุษย์

 

88. ข้อความใดไม่มีปัจจัยควบคุมภูมิอากาศ

1. กรุงเทพอยู่ที่ละติจูด 14 องศาเหนือ

2. อุบลราชธานีอยู่ริมฝั่งแม่น้ำมูล

3. เชียงรายอยู่สูงจากระดับน้ำทะเล 400 เมตร

4. หัวหินอยู่ริมฝั่งทะเล

 

89. ลมมรสุมซึ่งทำให้ฝนตกในบางส่วนของภาคใต้ของประเทศระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์เรียกว่าอะไร

1. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้

2. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

3. ลมมรสุมตะวันออกตะวันตกเฉียงใต้

4. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ

 

90. เมื่อประเทศไทยได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะเกิดปรากฏการณ์ใด

1. ภาคตะวันออกเกิดหย่อมความกดอากาศต่ำ

2. ภาคใต้ฝั่งตะวันออกท้องฟ้ามีเมฆมากฝนตกตามชายฝั่งทะเล

3. ภาคตะวันตกมีความกดอากาศสูงอุณหภูมิลดลง

4. ภาคเหนือมีฝนตกจากพายุดีเปรสชั่น

 

91. อิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมีผลอย่างไร

1. ภาคตะวันออกและภาคใต้ฝั่งตะวันตกมีฝน

2. ภาคตะวันออกและภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีฝน

3. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหนาวเย็นและภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีฝน

4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหนาวเย็นและภาคใต้ฝั่งตะวันตกมีฝน

 

92. อิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมีผลกระทบในข้อใด

1. ภาคตะวันออกเฉียงเหนืออากาศหนาวจัดเกิดน้ำค้างแข็งพืชผลเสียหาย

2. ภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีฝนตกชุกเป็นฤดูนักท่องเที่ยวน้อย

3. ภาคเหนืออากาศเย็นสบายท้องฟ้าโปร่ง

4. ภาคตะวันออกอากาศแล้งไม้ผลขาดน้ำ

 

93. ภูมิอากาศภาคใต้มีลักษณะอย่างไร

1. ภูมิอากาศเป็นแบบเขตมรสุมร้อนทั้งภูมิภาค

2. ชายฝั่งด้านตะวันออกแห้งแล้งกว่าชายฝั่งด้านตะวันตก

3. ชายฝั่งด้านตะวันตกฝนชุกกว่าชายฝั่งด้านตะวันออก

4. ตอนล่างมีภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน

 

94. ข้อใดถูกต้อง

1. จังหวัดระนองพังงาภูเก็ตได้รับ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงกันยายน

2. จังหวัดตราดเป็นจังหวัดที่มีฝนมากที่สุดในภาคตะวันออกปีละ 3,000 มิลลิเมตร

3. พายุดีเปรสชันจัดเป็นพายุหมุนเขตร้อนอย่างหนึ่งที่มีความเร็วลมต่ำกว่า 81 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

4. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือทำให้ภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีฝนตกชุกในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม

 

95. เหตุใดแอ่งสกลนครจึงเป็นพื้นที่ที่มีฝนชุกกว่าพื้นที่ส่วนอื่นของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

1. เป็นพื้นที่ที่ติดแม่น้ำโขง ซึ่งเป็นแหล่งความชื้นทำให้มีฝนจากการยกตัวของอากาศ

2. เป็นพื้นที่ที่อยู่ในเขตร่องมรสุมที่เป็นทางผ่านของพายุหมุนจากอ่าวตังเกี่ย

3. เป็นพื้นที่ต้านรับลมของเทือกเขาภูพานที่ได้รับความชื้นจากทะเลจีนใต้

4. เป็นเป็นพื้นที่ที่ต้านรับลมมรสุมฤดูหนาวที่พัดพาความชื้นจากอ่าวตังเกี๋ย

 

96. มวลอากาศใดมีอิทธิพลต่อสภาพอากาศของประเทศไทยในช่วงหรือดูร้อนมากที่สุด

1. มวลอากาศร้อนภาคพื้นทวีปจากตอนกลางของประเทศอินเดีย

2. มวลอากาศร้อนภาคพื้นทวีปของทะเลทรายโกบี

3. มวลอากาศร้อนภาคพื้นสมุทรจากมหาสมุทรอินเดีย

4. มวลอากาศร้อนภาคพื้นสมุทรเขตศูนย์สูตร

 

97. ปัจจัยใดที่ทำให้ฝนตกชุกในประเทศไทย

1. ร่องมรสุม

2. พายุหมุนจากทะเลจีนใต้

3. ที่ตั้งของไทยอยู่ในเขตร้อน

4. มวลอากาศร้อนภาคพื้นสมุทร

 

98.ในช่วงต้นฤดูฝนมักจะเกิดพายุรุนแรงสร้างความเสียหายเป็นหย่อมๆเพราะเหตุใด

1. การปะทะกันของมวลอากาศรุนแรง

2. เกิดพายุหมุนขนาดเล็กเป็นพื้นที่แคบ ๆ

3. พื้นดินมีอุณหภูมิสูงและได้รับความชื้นมาก

4. ความกดอากาศเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

 

99. มวลอากาศร้อนชื้นจากอ่าวไทยและทะเลจีนใต้เคลื่อนที่ผ่านประเทศไทยปะทะอย่างรวดเร็วกับมวลอากาศเย็นและแห้งแล้งจากประเทศจีนลักษณะของอากาศที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร

1. อากาศแจ่มใสฝนตกเล็กน้อย

2. อากาศแปรปรวนมีฝนตกมาก

3. อากาศแจ่มใสท้องฟ้าโปร่ง

4. อากาศแปรปรวนมีเมฆเต็มท้องฟ้า

 

 

100. มวลอากาศร้อนชื้นจากทะเลจีนใต้เคลื่อนที่ผ่านประเทศไทยมาปะทะกับมวลอากาศเย็นและแห้งแล้งจากประเทศจีนอย่างรวดเร็วจะทำให้เกิดลักษณะอากาศอย่างไร

1. ท้องฟ้าแจ่มใส ลมพัดแรง

2. ท้องฟ้ามืด มีฝนตกเล็กน้อย

3. อากาศแปรปรวน มีฝนตกมาก

4. อากาศอบอ้าว ท้องฟ้ามืดครึ้มตลอดวัน

 

101. มวลอากาศร้อนชื้นจากทะเลจีนใต้เคลื่อนที่ผ่านประเทศไทยมาปะทะกับมวลอากาศเย็นและแห้งจากประเทศจีนอย่างรวดเร็วจะทำให้เกิดลักษณะอากาศอย่างไร 

1. ท้องฟ้าแจ่มใส ลมพัดแรง

2. ท้องฟ้ามืด มีฝนตกเล็กน้อย

3. อากาศแปรปรวน มีฝนตกมาก

4. อากาศอบอ้าว ท้องฟ้ามืดครึ้มตลอดวัน

 

102. องค์ประกอบของภูมิอากาศข้อใดที่มีผลทำให้ปริมาณน้ำฝนในประเทศไทยมีมากกว่าปกติ

1. ความกดอากาศสูงจากประเทศจีน

2. พายุหมุนจากทะเลจีนใต้

3. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้

4. ความชื้นจากอ่าวไทย

 

103. ปลายฤดูฝนของประเทศไทยจะไม่แรงฝนด้วยเหตุใด

1. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือนำความเย็นและฝนโปรยมาสู่พื้นที่

2. ร่องความกดอากาศต่ำก่อให้เกิดฝนตกเป็นบริเวณกว้าง

3. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้นำฝนมาตกในพื้นที่

4. พายุหมุนจากทะเลจีนใต้พัดผ่าน

 

104. พายุหมุนที่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยส่วนใหญ่จะมาจากทิศทางใด

1. ทิศตะวันตกเฉียงใต้

2. ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

3. ทิศเหนือ

4. ทิศตะวันออก

 

105. ข้อใดคือประโยชน์ของการเรียกพายุหมุนเขตร้อนให้แตกต่างกันเป็นพายุดีเปรสชั่นพายุโซนร้อนหรือพายุไต้ฝุ่น

1. เพื่อให้ทราบแหล่งกำเนิดของพายุ

2. เพื่อใช้ในการตั้งชื่อพายุอย่างเหมาะสม

3. เพื่อให้ทราบทิศทางและการเคลื่อนที่ของพายุ

4. เพื่อให้ทราบกำลังความแรงและการป้องกัน

 

106. เพราะเหตุใดภาคตะวันออกเฉียงเหนือจึงมีปริมาณน้ำฝนมากกว่าภาคกลางตอนบน

1. เพราะมีโอกาสได้รับผลจากพายุดีเปรสชั่น

2. เพราะได้รับผลทางมรสุมฤดูร้อนและมรสุมฤดูหนาว

3. เพราะได้รับผลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัดมาจากทะเลจีนใต้

4. เพราะปัจจัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือปลูกป่าและสวนยางพารามากขึ้นจึงทำให้มีปริมาณฝนสูงกว่าภาคกลางตอนบน

 

107. เหตุใดจังหวัดนครพนมจึงได้รับปริมาณน้ำฝนมาก

1. ทำเลที่ตั้งอยู่ในเขตอิทธิพลของดีเปรสชั่น

2. เทือกเขาภูพานช่วยรับลมมรสุม

3. เป็นที่ราบสูง ไอน้ำในอากาศกลั่นตัวได้สะดวก

4. ได้รับอิทธิพลมาจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้

 

108. เพราะเหตุใดพื้นที่ทางตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือจึงมีปริมาณน้ำฝนมากกว่าทางตะวันตกของภาค

1. มีระยะทางอยู่ใกล้ทะเลมากกว่า

2. ได้รับอิทธิพลจากพายุหมุนเขตร้อน

3. ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

4. มีเทือกเขาในประเทศลาวเป็นแนวปะทะลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้

 

109. จังหวัดนครพนมมีปริมาณน้ำฝนใกล้เคียงกับจังหวัดในภาคใต้เพราะสาเหตุข้อใด

1. ที่ตั้งอยู่บนแนวพายุโซนร้อน

2. ที่ตั้งอยู่ไม่ไกลจากทะเล

3. ที่ตั้งอยู่บนแนวฝนพาความร้อน

4. ที่ตั้งอยู่ด้านรับลม

 

110. เหตุใดพายุไต้ฝุ่นจึงมีกำลังอ่อนลงเมื่อพัดเข้าสู่ประเทศไทย

1. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เคลื่อนตัวมาปะทะ

2. ทิวเขาในประเทศเวียดนามและลาวเป็นแนวปะทะ

3. ขณะที่พายุนี้เคลื่อนที่ได้มีฝนตกหนักเป็นบริเวณกว้าง

4. แหล่งกำเนิดอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งมีระยะห่างจากประเทศไทยมาก

 

111. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับพายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศ

1. ไม่เคยก่อตัวในอ่าวไทย

2. หากก่อตัวในอ่าวเบงกอลจะมาไม่ถึงประเทศไทย

3. มีแหล่งกำเนิดในทะเลจีนใต้มากกว่าในทะเลอันดามัน

4. ก่อตัวในอ่าวตังเกี๋ยจะส่งผลต่อสภาพอากาศในประเทศไทยมากที่สุด

 

112. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับพายุแคทรีนาที่สร้างความเสียหายอย่างมากเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2548

1. เป็นพายุไต้ฝุ่นที่ก่อตัวในจีนใต้ขึ้นฝั่งใกล้กรุงฮานอย

2. เป็นพายุโซนร้อนที่ก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกขึ้นฝั่งในประเทศเม็กซิโก

3. เป็นพายุไซโคลนที่ก่อตัวในมหาสมุทรอินเดียขึ้นฝั่งใกล้เมืองโกลกาตา

4. เป็นพายุเฮอร์ริเคนที่ก่อตัวในมหาสมุทรแอตแลนติกขึ้นฝั่งใกล้เมืองนิวออร์ลีนส์

 

113. ร่องความกดอากาศต่ำหรือร่องมรสุมเกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ใดในประเทศไทยมากที่สุด

1. การเปลี่ยนอุณหภูมิตามอิทธิพลลมมรสุม

2. ชมฝนตกชุกในเดือนพฤษภาคมและเดือนกันยายน

3. ได้รับแสงอาทิตย์เข้มข้นในเดือนเมษายนและเดือนสิงหาคม

4. การเปลี่ยนแปลงทางเดินของพายุหมุนจากมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย

 

114. ช่วงฝนชุกสองช่วงในประเทศไทยระหว่างเดือนพฤษภาคมและเดือนกันยายนเกิดจากอะไร

1 การเปลี่ยนทิศทางของลมมรสุม

2 การเคลื่อนที่ของร่องความกดอากาศต่ำ

3 การเคลื่อนที่ของแนวตั้งฉากของแสงอาทิตย์

4 การเคลื่อนที่ของพายุหมุนจากทะเลจีนใต้สลับกับทะเลอันดามัน

 

115. ฝนชุกในภูมิภาคส่วนใหญ่ของประเทศไทยเกิดขึ้นในช่วงเวลาใด

1. ช่วงที่ร่องมรสุมพัดผ่านประเทศเกิดจากแนวปะทะของมวลอากาศทั้งสองฝ่าย

2. ช่วงเปลี่ยนแปลงฤดูมรสุม ลมเปลี่ยนทิศทางเกิดความแปรปรวนของอากาศ

3. ช่วงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ลมพัดมาจากมหาสมุทรอินเดียและทะเลจีนใต้

4. ช่วงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดผ่านพื้นน้ำในอ่าวไทยเข้าสู่แผ่นดิน

 

116. การที่ฝนตกหนัก ลมแรง บางครั้งมีฟ้าผ่าและลูกเห็บตกเกิดเป็นบริเวณแคบ ๆเป็นลักษณะของพายุฤดูฝนฤดูใด

1. พายุดีเปรสชั่น-ต้นฤดูฝน

2. พายุโซนร้อน-ปลายฤดูฝน

3. พายุฝนฟ้าคะนอง-ฤดูร้อน

4. พายุหมุนเขตร้อน-ช่วงเปลี่ยนฤดู

 

117. เราจะไม่เห็นปรากฏการณ์ธรรมชาติในช่วงเกิดพายุฝนฟ้าคะนองข้อใด

1. ฝนตกเป็นบริเวณแคบ

2. ฝนตกเป็นระยะเวลาสั้นๆ 

3. ลมแรงกรรโชก

4. ฟ้าผ่าและฟ้าแลบ

 

118. เพราะเหตุใดลมตะเภาจึงพัดไปตามลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา

1. เนื่องจากมีศูนย์ความกดอากาศต่ำเกิดขึ้นในที่ราบภาคกลางความกดอากาศสูงเกิดขึ้นในอ่าวไทย

2. เนื่องจากมีสูงความกดอากาศสูงเกิดขึ้นในที่ราบภาคกลาง

3. แม่น้ำเจ้าพระยามีความกดอากาศต่ำตามแนวแม่น้ำยมจึงคัดตามแนวความกดอากาศต่ำนั้น

4. เป็นลมก่อนมรสุมฤดูร้อนที่พัดไปตามอิทธิพลของมรสุมฤดูร้อน

 

119. ชาวกรุงเทพฯ นิยมเล่นว่าวที่ท้องสนามหลวงระหว่างเดือนมีนาคมถึงเมษายนลมที่พัดอยู่ในช่วงเวลานี้คือลมอะไร

1. ลมข้าวเบา

2. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้

3. ลมตะเภา

4. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

 

120. ถ้าลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เปลี่ยนทิศทางมาเป็นลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้จังหวัดใดที่อยู่ด้านรับลม

1. เพชรบุรี

2. ฉะเชิงเทรา

3. ตรัง

4. บุรีรัมย์

แนวข้อสอบกลางภาค เทอม1

  1 . ถ้าวัดระยะทางจริงในภูมิประเทศได้ 2.5 กิโลเมตรและจัดระยะทางในแผนที่ได้ 5 เซนติเมตร แผนที่นี้ใช้มาตราส่วนใด 1 . 1 : 5 , 000 2 . 1 : ...