ระบบเศรษฐกิจ
กระบวนการทางเศรษฐกิจที่เกิดจากความร่วมมือกันของมนุษย์ในการสร้างและใช้ทรัพยากรเพื่อตอบสนองความต้องการระหว่างกันของสมาชิกในสังคมที่มีการปฏิบัติที่คล้ายคลึงกัน
ทุนนิยม (Capitalism)
สังคมนิยม (Socialism)
แบบผสม (Mixed Economy)
เกณฑ์ในการพิจารณา
รูปแบบ
เกณฑ์
|
ทุนนิยม
|
สังคมนิยม
|
แบบผสม
|
เจ้าของปัจจัยการผลิต
|
เอกชน
|
รัฐ
|
เอกชนและชุมชน
|
ผู้กำหนดราคาสินค้า
|
กลไกราคา
|
รัฐ
|
กลไกราคา+รัฐ
|
บทบาทของเอกชน
|
100 %
|
0 %
|
ประมาณ 80 %
|
บทบาทของรัฐบาล
|
0 %
|
100 %
|
ประมาณ 20 %
|
ลักษณะสำคัญ
ทุนนิยม
|
สังคมนิยม
|
แบบผสม
|
เอกชนมีเสรีภาพในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
|
รัฐดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกรูปแบบ
|
เอกชนมีเสรีภาพในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
|
เอกชนการแข่งขันสูง
|
ไม่มีการแข่งขัน
|
มีการแข่งขัน
|
กำไรเป็นแรงจูงใจในการผลิต
|
กำไรทั้งหมดเป็นของรัฐ
|
รัฐประกอบกิจการในรูปแบบรัฐวิสาหกิจ
|
ไม่มีการวางแผนจากส่วนกลาง
|
ทั้งหมดเกิดจากการวางแผนจากส่วนกลาง
|
มีการแทรกแซงจากส่วนกลาง
|
ข้อดี
ทุนนิยม
|
สังคมนิยม
|
แบบผสม
|
Jเกิดแรงจูงใจ
Jคุณภาพสินค้าดีขึ้น
Jเสรีภาพในการใช้ทรัพยากร
Jผู้บริโภคมีทางเลือก
|
Jประชาชนได้รับสวัสดิการ
Jมีการจัดสรรทรัพยากร
Jมีการกระจายรายได้
Jไม่มีการผูกขาด
Jความผันผวนทางเศรษฐกิจน้อย
|
Jปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ได้ดี
Jรายได้ถูกเฉลี่ยตามความสามารถ
Jสินค้ามีให้เลือกและมีคุณภาพ
Jรัฐจัดสาธารณูปโภคให้
|
ข้อเสีย
ทุนนิยม
|
สังคมนิยม
|
แบบผสม
|
Jกระจายรายได้ไม่เท่าเทียม
Jยุ่งยากเมื่อเกิดวิกฤติการณ์
Jเกิดการผูกขาดและกดค่าแรง
|
Jการวางแผนไม่ดี
Jขาดแรงจูงใจ
Jขาดตัวเลือก
|
Jแรงจูงใจลดจากนโยบายของรัฐ
Jประสิทธิภาพในการพัฒนาน้อย
Jปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพยาก
Jรัฐวิสาหกิจเช้าชามเย็นชาม
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น