วันอังคาร, มิถุนายน 26, 2555

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ (ม.1)

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
นักวิชาการส่วนใหญ่แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ออกเป็นสองยุคคือ
            1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สังคมนั้นยังไม่มีตัวอักษรและตัวหนังสือเพื่อบอกเรื่องราว
            2. สมัยประวัติศาสตร์ สังคมนั้นมีการใช้ตัวอักษรและตัวหนังสือเพื่อบอกเรื่องราว
สมัยกึ่งก่อนประวัติศาสตร์
องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ<UNESCO> กำหนดให้มีสมัยกึ่งก่อนประวัติศาสตร์ หมายถึงช่วงเวลาที่สังคมนั้นยังไม่รู้จักตัวอักษร แต่สามารถศึกษาเรื่องราวได้จากหลักฐานลายลักษณ์อักษรที่คนต่างถิ่นบันทึกไว้
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
แบ่งตามพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมมนุษย์

สังคมล่าสัตว์
สังคมเกษตรกรรม
สังคมเมือง
500,000-6,000ปี
6,000-2,500ปี
2,500ปี
ล่าสัตว์ ประมง
หาของป่า
เริ่มการเกษตรกรรม
และกสิกรรม
มีการติดต่อค้าขายกันระหว่างเมือง
เร่ร่อน อยู่กันเป็นครอบครัว
ชุมชนที่มีผู้นำ
แบ่งงานกันทำ
หลายๆชุมชน
รวมตัวกันเป็นเมือง


แบ่งตามเทคโนโลยีเครื่องมือเครื่องใช้
1. ยุคหิน

ยุคหินเก่า
ยุคหินกลาง
ยุคหินใหม่
500,000-10,000ปี
10,000-6,000ปี
6,000-4,000ปี
เครื่องมือหินกะเทาะที่ทำขึ้นมาหยาบๆ วาดผนังถ้ำ
เครื่องมือประณีตขึ้น เครื่องปั้นดินเผาผิวเรียบ
ใช้เครื่องมือหินขัด
เครื่องประดับ
เร่ร่อน ล่าสัตว์ จับปลา หาของป่า
เหมือนหินเก่าแต่เริ่มมีชุมชนเล็กๆ
เริ่มเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์ ตั้งถิ่นฐานถาวร


2. ยุคโลหะ

ยุคสำริด
ยุคเหล็ก
4,000-2,500ปี
2,500-1,500ปี
เครื่องมือเครื่องใช้ทำด้วย
สำริด(ทองแดง+ดีบุก)
ถลุงเหล็กมาใช้ทำเครื่องมือต่างๆ
โดยเฉพาะอาวุธ
สังคมเกษตรกรรม
เริ่มค้าขายระหว่างเมือง
สังคมเกษตรกรรม
มีเมืองศูนย์กลางการค้า


7 ความคิดเห็น:

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กว่าการบ้านจะมา--

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ต้องจดม่ะ?

ครูเจตน์ กล่าวว่า...

จดล่วงหน้าได้เลยไม่ต้องรอสอนก่อน

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

เยอะอ่ะ ปวดนิ้วสุดๆ ระบมทั้งมือเลย T.T ฮืออออ

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

---

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

จดแปปเดียว ก็เสด
แล้วอันที่เรียนล่าสุด ครูลงรึยังค่ะ

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ผมรืมว่าครูสอนถึงเรื่องไหนครับ

แสดงความคิดเห็น

ตัวอย่างปลายภาค รอบสุดท้าย

  1. ความหมายโดยทั่วไปของกฎหมายคืออะไร 1. ข้อบังคับของรัฐ 2. บรรทัดฐานในสังคม 3. จารีตประเพณี 4. บรรทัดฐานที่ศาลใช้ในการตัดสินคด...